Page 17 -
P. 17

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวและการประมาณการความต้องการเมล็ดพันธุ์ข้าวสําหรับศูนย์ข้าวชุมชน


                  ขอเสนอแนะของการปรับปรุงมาตรฐานแปลงใน มกษ. 4406-2557

                         1)  ถากรมการขาวตองการเพิ่ม % ความมั่นใจวากระบวนการผลิตเมล็ดพันธุขาว ณ ระดับแปลงและ
                  ณ ระดับรานคาจะทําใหไดเมล็ดพันธุขาวที่ผลิตนั้นไดมาตรฐานเมล็ดพันธุขาว พ.ศ. 2557  กรมการขาวสามารถ

                  พิจารณาปรับมาตรฐานแปลงและมาตรฐานระดับรานคาใหสูงขึ้นได เชน จาก 5 : 10,000 มาเปน 3 : 10,000
                  หรือแมกระทั่ง 1 : 10,000 ได เทากับที่ระบุไวใน มกษ 4406-2557 แตถาทําเชนนั้น ตองคํานึงถึงสัดสวนของ

                  มาตรฐานขาวเมล็ดแดงที่สอดคลองกับมาตรฐานแปลงดวย นั่นคือ ควรตองอยูในสัดสวน 1 : 3 นั่นคือ มาตรฐาน

                  ขาวเมล็ดแดงที่ปรับควรจะเปน คือ 9 : 100,000 หรือ 3 : 100,000 ตามลําดับ
                         2)  การพัฒนามาตรฐานแปลงที่ควรจะเปนที่สอดคลองกับมาตรฐานเมล็ดพันธุขาว พ.ศ. 2557 ไดมา

                  จากขอมูลการผลิตเมล็ดพันธุขาวเพียง 2 พันธุ จากแปลงปลูก 12 แปลง ที่ผลิตโดยศูนยเมล็ดพันธุขาวเพียง 3
                  ศูนยเทานั้น แตความนาเชื่อถือในมาตรฐานแปลงที่ควรจะเปนจะมีเพิ่มขึ้น ถาทุกศูนยเมล็ดพันธุขาวสามารถเก็บ

                  ขอมูลการผลิตเมล็ดพันธุขาวชั้นพันธุจําหนาย หรือแมแตชั้นพันธุขยายของศูนยของตนเองได ทั้งการผลิตในฤดู
                  ฝนและฤดูรอน จะทําใหไดพันธุขาวมากพันธุขึ้น ซึ่งจะสามารถตอบคําถามวา ความแตกตางในฤดูการผลิต

                  ความแตกตางในพันธุขาว และความแตกตางในแหลงผลิตมีผลตอมาตรฐานแปลงที่ควรจะเปนอยางไร และนี่จะ

                  เปนจุดเริ่มตนของกระบวนการการจะนํา มาตรการการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีเกี่ยวกับเมล็ดพันธุขาว หรือ
                  มกษ 4406-2557 ไปสูการปฏิบัติจริง









































                                                             xv
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22