Page 13 -
P. 13

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวและการประมาณการความต้องการเมล็ดพันธุ์ข้าวสําหรับศูนย์ข้าวชุมชน


                  ของเมล็ดพันธุขาวมีไมมาก และมีปริมาณเมล็ดพันธุจํานวนนอย ซึ่งเหตุผลทั้ง 3 นี้ เปนเหตุผลเดียวกับที่

                  เกษตรกรอีกกลุมที่ไมเคยซื้อเมล็ดพันธุจากศูนยขาวชุมชน
                         สําหรับชนิดของพันธุขาว พบวา พันธุขาวที่เกษตรกรใชในการปลูกขาวนาปรัง และขาวนาป ป

                  เพาะปลูก 2561/62 มีรวมเทากับ 22 และ 24 พันธุ ตามลําดับ โดยขาวพันธุ กข49 กข41 กข29 พิษณุโลก2
                  และ กข61 เปนขาว 5 พันธุที่เกษตรกรนิยมปลูกมากเปนอันดับตนๆในการปลูกทั้งขาวนาปรังและขาวนาป คิด

                  เปนรอยละรวม ไดเทากับ 83.06 และ 74.66 ของพื้นที่ปลูกขาวรวม ตามลําดับ ทั้งนี้ขาวหอมพันธุปทุมธานี1

                  เปนพันธุขาวหอมที่เกษตรกรเริ่มปลูกเพิ่มขึ้นในพื้นที่ แตยังอยูในรอยละที่ไมเกิน 3.5 ของทั้งพื้นที่ปลูกขาวนา
                  ปรังและขาวนาป

                         ในสวนของการผลิตเมล็ดพันธุขาวของศูนยขาวชุมชน พบวา จํานวนพันธุขาวที่ศูนยขาวชุมชนผลิตใน
                  ฤดูฝนและฤดูแลง มีจํานวน 12 และ 11 พันธุ ตามลําดับ เปนประมาณครึ่งหนึ่งของจํานวนพันธุขาวที่เกษตรกร

                  ทํานารอบศูนยขาวชุมชนนิยมใช โดยพันธุขาวจํานวน 6 พันธุที่ผลิตมากเปนลําดับตนๆในฤดูฝน คือ  กข 41
                  กข.29 พิษณุโลก 2 กข 49 กข 57 และ กข 61 และ 4 พันธุในฤดูแลง คือ กข 41 กข.29 กข 49 และพิษณุโลก

                  2 ซึ่งเมล็ดพันธุขาวที่ผลิตนั้น ผลิตใหกับศูนยเมล็ดพันธุขาวเพียงรอยละ 27.2 ของผลผลิตเมล็ดพันธุรวมเทานั้น

                  ที่เหลือผลิตใหกับรานคา ศูนยขาวชุมชน ขายใหกับเกษตรกรในพื้นที่ใกลเคียง สหกรณการเกษตร และ โรงสี
                  โดยขายเปนเมล็ดพันธุสดถึงรอยละ 95.5 ใหกับแหลงตางๆขางตน โดยราคาเฉลี่ยรวมของเมล็ดพันธุขาวที่ขาย
                  ใหกับแหลงตางๆเทากับ 8.95 บาท/กิโลกรัม ในขณะที่คาใชจายเงินสดของการผลิตอยูที่ 5.43 บาท/กิโลกรัม

                         ขอมูลที่ใชในการประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชนแตละแหงนั้น

                  ประกอบดวย (1) พื้นที่ทํานาของหมูบานที่มีที่ตั้งอยูรอบศูนยขาวชุมชนแตละแหง ซึ่งมาจากการลงทะเบียน
                  เกษตรกรของหมูบานเปาหมายกับกรมสงเสริมการเกษตรในปเพาะปลูก 2561 และ 2562 ทั้งขาวนาป (ฤดูฝน)

                  และนาปรัง (ฤดูแลง)  (2) พันธุขาวที่เกษตรกรลงทะเบียนวาใชในชวงปเพาะปลูกดังกลาว ซึ่งสามารถสะทอนได
                  ถึงลักษณะความตองการเมล็ดพันธุขาวได (3) อัตราการใชเมล็ดพันธุขาวที่เกษตรกรใชในการปลูกขาว ซึ่งมา

                  จากการเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยาง (4) พฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวของตนเองของเกษตรกร โดยมี
                  สมมติฐานวา ขอมูลเหลานี้จะยังคงเดิมสําหรับปเพาะปลูก 2563 พบวา จํานวนครัวเรือนเกษตรกรที่ทํานาเฉลี่ย

                  ตอศูนยขาวชุมชนเทากับ 475 ครัวเรือนสําหรับฤดูฝน และ 288 ครัวเรือนสําหรับฤดูแลง พื้นที่ทํานาเฉลี่ย

                  20.25 ไรสําหรับฤดูฝน และ ประมาณ 18 ไรสําหรับฤดูแลง พันธุขาวที่เกษตรกรลงทะเบียนสําหรับการปลูกใน
                  ฤดูฝนในภาพรวมมี 40 พันธุ แตพันธุที่มีเกษตรกรลงทะเบียนไวมากที่สุดเรียงตามลําดับพื้นที่ปลูก 5 พันธุคือ

                  กข49 กข41 พิษณุโลก 2 ขาวดอกมะลิ 105 กข29 สวนในฤดูแลงมี 33 พันธุ โดยพันธุที่ลงทะเบียนปลูกมาก
                  ที่สุด 5 พันธุคือ กข49 กข41 พิษณุโลก 2 กข29 และ กข57 ซึ่งแตละศูนยขาวชุมชนจะมีลําดับความตองการ

                  ปลูกแตละพันธุไมเหมือนกัน และอาจจะแตกตางไปจากภาพรวมไดบาง ทั้งนี้ในการประมาณการความตองการ
                  เมล็ดพันธุขาว จะเนนที่เมล็ดพันธุขาวที่เกษตรกรใชมากรวมกันเกินรอยละ 70.0 ของปริมาณรวม ทั้งนี้เพราะ



                                                             xi
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18