Page 11 -
P. 11

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


               การศึกษาพฤติกรรมการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวและการประมาณการความต้องการเมล็ดพันธุ์ข้าวสําหรับศูนย์ข้าวชุมชน


                                                 คํานําและกิตติกรรมประกาศ


                      โครงการศึกษาพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวของเกษตรกรและการประมาณการความตองการใชเมล็ด

               พันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชนนี้ เริ่มมาจากขอมูลเชิงคุณภาพที่ผูวิจัยไดรับมาจากกลุมผูผลิตเมล็ดพันธุขาวใน
               จังหวัดตางๆ ที่ผูวิจัยเคยทําโครงการศึกษา เชน พิษณุโลก พิจิตร กําแพงเพชร ชัยนาท และสุพรรณบุรี ทั้งขอมูล

               จากรานคา ศูนยขาวชุมชน แมแตศูนยเมล็ดพันธุขาว ที่มักจะพบปญหาเมล็ดพันธุคางสตอก ตองขายออกไปในรูป
               ขาวเปลือก ทําใหเกิดการขาดทุน ทั้งๆที่ปริมาณความตองการของเมล็ดพันธุขาวแตละปมีมากกวา 1 ลานตัน ซึ่ง

               เหตุผลสําคัญที่กลุมผูผลิตเหลานี้ใหตรงกันคือ ผลิตพันธุขาวไมตรงกับความตองการของตลาด ไมใชเรื่องปริมาณ
               การผลิตที่ไมเพียงพอ นอกจากนี้ กลุมผูผลิตเมล็ดพันธุขาวยังตองการทราบความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับมาตรการการ

               ตรวจประเมินแปลง ที่เรียกวา “การปฏิบัติการทางการเกษตรที่ดีเกี่ยวกับเมล็ดพันธุขาว หรือ GAP Rice Seed”
               วาจะออกมาใชเมื่อไร จึงเปนที่มาของประเด็นที่นํามาศึกษาในโครงการศึกษานี้ ซึ่งคําตอบที่จะไดจากโครงการ

               ศึกษานี้คือ วิธีการประมาณการปริมาณเมล็ดพันธุขาวที่แตละศูนยขาวชุมชนควรผลิตเปนรายพันธุขาวในแตละฤดู
               การผลิตขาว และที่เลือกศึกษาเฉพาะศูนยขาวชุมชน เพราะ ศูนยขาวชุมชนถูกคาดหวังใหเปนแหลงผลิตเมล็ดพันธุ

               ขาวใหกับศูนยขาวชุมชน และสําหรับการศึกษา GAP Rice Seed นั้นกลับไปพบประเด็นที่นานํามาศึกษากอน

               กอนที่จะนํา GAP Rice Seed ออกสูการปฏิบัติจริง ซึ่งไดนําเสนอไวแลวในรายการการศึกษานี้ดวย
                      โครงการศึกษานี้สามารถสําเร็จจนเปนรายงานการศึกษาได เนื่องจากไดรับการสนับสนุนจากหลาย

               หนวยงาน ตั้งแตการสนับสนุนงบประมาณโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในขณะนั้น ที่มีหนวย
               ประสานงาน คือ สถาบันคลังสมองของชาติ และหนวยงานสนับสนุนในพื้นที่ศึกษา ตั้งแตกลุมผูบริหารศูนยขาว

               ชุมชนทั้ง 10 ศูนย  ผูบริหารและเจาหนาที่ของศูนยเมล็ดพันธุขาวกําแพงเพชร สุโขทัย และนครสวรรคที่เขารวม
               เปนนักวิจัยของโครงการศึกษานี้ ทําใหไดขอมูลจากแหลงที่นาเชื่อถือ ผูวิจัยขอขอบพระคุณอยางสูงมา ณ ที่นี้ดวย





                                                                รองศาสตราจารย ดร.มาฆะสิริ เชาวกุล และคณะ



















                                                            ix
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16