Page 16 -
P. 16

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวและการประมาณการความต้องการเมล็ดพันธุ์ข้าวสําหรับศูนย์ข้าวชุมชน


                  2 นี้ เปนมาตรฐานกระบวนการผลิตที่มาจาก 2 สวน คือ มาตรฐานกระบวนการผลิตที่ระดับแปลงและมาตรฐาน

                  กระบวนการปรับปรุงคุณภาพเมล็ดพันธุขาวหลังการเก็บเกี่ยวที่ระดับรานคา ซึ่งทั้ง 2 สวนมีความสําคัญเทากัน
                  เพราะถาไมผานมาตรฐานสวนใดสวนหนึ่ง เมล็ดพันธุขาวก็จะไมผานมาตรฐานเมล็ดพันธุขาว ดังนั้น สัดสวนของ

                  จํานวนตนขาวพันธุปน และจํานวนตนขาวเมล็ดแดงในมาตรฐานแปลงที่ควรจะเปนจึงเปนเพียงครึ่งหนึ่งของ
                  มาตรฐานแปลงขางตน นั่นคือ จํานวนตนขาวพันธุอื่นปนเฉลี่ยสูงสุด คือ 5 ตน : 10,000 ตน สวนจํานวนตนขาว

                  เมล็ดแดงเฉลี่ยสูงสุดของขาวทั้ง 2 พันธุที่สอดคลองกับมาตรฐานเมล็ดพันธุขาว พ.ศ. 2557 คือ 17 ตน :

                  100,000 ตน


                  ขอเสนอแนะสําหรับการผลิตเมล็ดพันธุขาวของศูนยขาวชุมชน และศูนยเมล็ดพันธุขาว
                         1) การคาดการณความตองการใชเมล็ดพันธุขาวของศูนยขาวชุมชนฤดูตอฤดู

                             เนื่องจากศักยภาพในการผลิตของศูนยขาวชุมชนมีอยูจํากัด การเปดสั่งจองเมล็ดพันธุขาวลวงหนา
                  สําหรับฤดูการผลิตถัดไป จะชวยทําใหการผลิตไดเมล็ดพันธุขาวตรงตามที่เกษตรกรตองการ และจะไมมีเมล็ด

                  พันธุขาวคางสตอก อยางไรก็ตาม การสั่งจองนี้ กระทําไดเฉพาะเมล็ดพันธุขาวพันธุที่เคยมีการผลิตอยูกอนแลว

                  เพราะจะมีพื้นที่ที่สะอาดเพียงพอสําหรับการปลูกเมล็ดพันธุเดิม แตสําหรับพันธุใหมๆ ตองมีการเตรียมพื้นที่
                  กอนอยางนอย 1-2 ฤดูการผลิต หรือ การตรวจประเมินแปลงตองกระทําอยางเขมขน เพื่อกําจัดตนขาวเรื้อออก
                  ใหหมด

                        2)  การคาดการณความตองการใชเมล็ดพันธุขาวของศูนยขาวชุมชน

                             ขอมูลยอนหลังอยางนอย 2 ปการเพาะปลูก จะสะทอนไดถึงพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวของ
                  เกษตรกรรายตําบลได ยิ่งรวบรวมยอนหลังหลายปการเพาะปลูก ก็จะยิ่งคาดการณไดดีขึ้นถึงความตองการใช

                  เมล็ดพันธุขาวของเกษตรกรที่มีพื้นที่ทํานาอยูรอบศูนยขาวชุมชน ซึ่งจะใชเปนขอมูลสําคัญสําหรับการวาง
                  แผนการผลิตเมล็ดพันธุขาวของศูนยขาวชุมชนได ขอมูลการใชเมล็ดพันธุขาวของเกษตรกรรายตําบล สามารถ

                  รวบรวมไดจากการลงทะเบียนเกษตรกรกอนการทํานาในทุกฤดูการผลิต ซึ่งขอมูลเหลานี้รวบรวมโดยสํานักงาน
                  เกษตรจังหวัด แตศูนยขาวชุมชนสามารถไดขอมูลนี้จากเกษตรตําบล

                          3) การคาดการณความตองการใชเมล็ดพันธุขาวของศูนยเมล็ดพันธุขาว

                             เชนเดียวกับการคาดการณความตองการใชเมล็ดพันธุขาวของศูนยขาวชุมชน ขอมูลการใชเมล็ด
                  พันธุขาวของเกษตรกรจากการลงทะเบียนเกษตรกรกอนการทํานาทุกฤดูการผลิต แตยกระดับขึ้นเปนขอมูลราย

                  อําเภอ แทนขอมูลรายตําบล จะสามารถนํามาคาดการณถึงความตองการใชเมล็ดพันธุขาวของเกษตรกรใน
                  จังหวัดได โดยตองรวบรวมยอนหลังไปอยางนอย 2 ปการเพาะปลูก ซึ่งจะเปนประโยชนตอการวางแผนการผลิต

                  เมล็ดพันธุขาวของศูนยเมล็ดพันธุขาว  ทั้งชั้นพันธุจําหนายและชั้นพันธุขยาย




                                                             xiv
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21