Page 15 -
P. 15

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวและการประมาณการความต้องการเมล็ดพันธุ์ข้าวสําหรับศูนย์ข้าวชุมชน


                         8. สําหรับศูนยขาวชุมชนบานทาชาง ประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาว กข49 และพิษณุโลก 2

                  สําหรับฤดูนาปรังปเพาะปลูก 2562/63 เทากับ 25,566.68 และ 119,490.44 กิโลกรัม ตามลําดับ และ
                  ประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาว กข49 และพิษณุโลก 2  สําหรับฤดูนาป ปเพาะปลูก 2562/63

                  เทากับ  29,040.08 และ 109,474.60  กิโลกรัม ตามลําดับ
                         9. สําหรับศูนยขาวชุมชนบานหนองไผ ประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาว กข49 และพิษณุโลก

                  2 สําหรับฤดูนาปรังปเพาะปลูก 2562/63 เทากับ 37,794.26 และ 78,210.35 กิโลกรัม ตามลําดับ และ

                  ประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาว กข49 และพิษณุโลก 2  สําหรับฤดูนาป ปเพาะปลูก 2562/63
                  เทากับ 108,593.89 และ  148,348.14 กิโลกรัม ตามลําดับ

                         10. สําหรับศูนยขาวชุมชนบานทุงน้ําใส ประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาว กข41 และ กข49
                  สําหรับฤดูนาปรังปเพาะปลูก 2562/63 เทากับ 16,808.98 และ 21,199.67 กิโลกรัม ตามลําดับ และ ประมาณ

                  การความตองการเมล็ดพันธุขาว กข49 และ หอมมะลิ 105  สําหรับฤดูนาปรังปเพาะปลูก 2562/63 เทากับ
                  72,089.48 และ 109,644.54  กิโลกรัม ตามลําดับ

                         จากเหตุผลหลักของการซื้อเมล็ดพันธุขาวจากศูนยขาวชุมชน คือ เกษตรกรทราบวาใครเปนคนผลิต

                  เพราะอยูในพื้นที่เดียวกัน ทําใหเชื่อในคุณภาพของเมล็ดพันธุขาวที่สมาชิกของศูนยขาวชุมชนผลิต และศูนยขาว
                  ชุมชนมีการผลิตเมล็ดพันธุขาวใหกับศูนยเมล็ดพันธุขาวและศูนยวิจัยขาว ซึ่งจะตองไดรับการตรวจประเมินโดย
                  เจาหนาที่ของศูนยเมล็ดพันธุขาว ซึ่งเมล็ดพันธุขาวที่ผลิตไดจะตองไดมาตรฐานตามขอกําหนดของมาตรฐาน

                  แปลงที่ระบุไวใน การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีเมล็ดพันธุขาว หมายเลขทะเบียน มกษ 4406-2557 แตพบวา

                  ขอกําหนดเกี่ยวกับมาตรฐานขาวพันธุอื่นปนในมาตรฐานแปลง และขอกําหนดเกี่ยวกับขาวเมล็ดแดงใน
                  มาตรฐานแปลงใน มกษ 4406-2557 ไมสอดคลองกับมาตรฐานเมล็ดพันธุขาว พ.ศ. 2557 ของกรมการขาว

                  ดังนั้น วัตถุประสงคที่สําคัญอีกขอหนึ่งของโครงการศึกษานี้คือ การแปลงมาตรฐานแปลงใน มกษ 4406-2557
                  ใหสอดคลองกับมาตรฐานเมล็ดพันธุขาวของกรมการขาว พ.ศ. 2557 โดยเริ่มตนดวยการปรับหนวยของ

                  มาตรฐานเมล็ดพันธุขาวใหมาเปนหนวยของมาตรฐานแปลง นั่นคือ ปรับมาตรฐานขาวพันธุอื่น จาก 15 เมล็ดใน
                  500 กรัมขาวเปลือก ใหมาเปนจํานวนตนขาวพันธุอื่นปน : 10,000 ตนขาวในแปลง และปรับมาฐานขาวเมล็ด

                  แดงจาก 5 เมล็ดใน 500 กรัมขาวเปลือก มาเปนจํานวนตนขาวเมล็ดแดง : 100,000 ตนขาวในแปลง โดยขอมูล

                  ที่ใชในการปรับมาตรฐานทั้ง 2 มาจากการแปลงปลูกเมล็ดพันธุขาว พันธุ กข29 และ กข41 ชั้นพันธุจําหนาย
                  ทั้งฤดูฝนและฤดูแลง ของกลุมเกษตรกรที่ผลิตเมล็ดพันธุขาวใหกับศูนยเมล็ดพันธุขาว 3 ศูนย คือ ศูนยเมล็ด

                  พันธุขาวกําแพงเพชร สุโขทัย และนครสวรรค จํานวนรวม 12 แปลง
                         พบวา จํานวนตนขาวพันธุอื่นปนเฉลี่ยของขาวพันธุ กข29 และ กข41 ชั้นพันธุจําหนายที่สอดคลองกับ

                  มาตรฐานเมล็ดพันธุขาว พ.ศ. 2557 คือ 10.232 ตน : 10,000 ตน สวนจํานวนตนขาวเมล็ดแดงเฉลี่ยของขาว
                  ทั้ง 2 พันธุที่สอดคลองกับมาตรฐานเมล็ดพันธุขาว พ.ศ. 2557 คือ 34.107 ตน : 100,000 ตน  ซึ่งมาตรฐานทั้ง



                                                             xiii
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20