Page 21 -
P. 21

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวและการประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชน

                                                           บทที่ 1
                                                           บทนํา

                              การศึกษาพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวและการประมาณการความตองการ
                                               เมล็ดพันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชน



                  1.1  ที่มาและความสําคัญของประเด็นศึกษา
                         พื้นที่ปลูกขาวของประเทศไทยในป  2560 เทากับ 69.102 ลานไร เปนพื้นที่ปลูกขาวนาปเทากับรอย

                  ละ 84.87 ที่เหลือเปนพื้นที่ปลูกขาวนาปรัง (สถิติการเกษตรประเทศไทย ป 2560) ปริมาณเมล็ดพันธุขาวที่ใช
                  รวมในปดังกลาวเทากับ 1,387,642 ตัน เปนเมล็ดพันธุขาวที่ใชสําหรับปลูกขาวนาป ปเพาะปลูก 2559 เทากับ

                  1,099,168 ตัน หรือเทากับรอยละ 79.21 ของเมล็ดพันธุรวมที่ใช ที่เหลือเปนเมล็ดพันธุขาวที่ใชสําหรับปลูกขาว
                  นาปรัง ปเพาะปลูก 2559/60 (ศูนยสารสนเทศ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร , 2560) กรมการขาวคาดการณ

                  ความตองการรวมสําหรับเมล็ดพันธุขาวในปเพาะปลูก2561/62 ไวเทากับ 1,398,492 ตัน สําหรับพื้นที่
                  เพาะปลูกรวม 70.42 ลานไร โดยเปนเมล็ดพันธุสําหรับการเพาะปลูกขาวนาปเทากับรอยละ 80.2 ของความ

                  ตองการรวม ที่เหลือรอยละ 19.80 เปนเมล็ดพันธุขาวสําหรับการเพาะปลูกขาวนาปรัง ทั้งนี้ คาดวาจะเปนเมล็ด
                  พันธุขาวรวมที่ผลิตจากแหลงตางๆเทากับ 713,231 ตัน หรือเทากับรอยละ 51.0 ของความตองการทั้งหมด ที่

                  เหลือคาดวาเกษตรกรจะใชขาวเปลือกของตนเองมาเปนเมล็ดพันธุ และเปนเมล็ดพันธุที่มีกระบวนการคัด

                  คุณภาพ 421,000 ตัน คิดเปนรอยละ 59 ของเมล็ดพันธุที่ผลิตทั้งหมด (กฤษณพงศ ศรีพงษพันธุกุล , 2561)
                  จากการศึกษาของมาฆะสิริ เชาวกุล (2559) พบวา ในการเพาะปลูกขาวนาปและขาวนาปรัง ปเพาะปลูก

                  2558/59 เกษตรกรในพื้นที่ชลประทานใชเมล็ดพันธุขาวของตนเองรอยละ 51.8 และ รอยละ 38.8 ของเมล็ด
                  พันธุรวมที่ใช ตามลําดับ ซึ่งเปนรอยละที่ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับของปเพาะปลูก 2553/54 โดยเฉพาะการ

                  ปลูกขาวนาปรัง กลาวคือ ในการเพาะปลูกขาวนาปและขาวนาปรัง ปเพาะปลูก 2553/54 เกษตรกรในพื้นที่
                  ชลประทานใชเมล็ดพันธุขาวของตนเองรอยละ57.4 และ รอยละ 51.7 ของเมล็ดพันธุรวมที่ใช ตามลําดับ

                  (มาฆะสิริ เชาวกุล , 2555) ปจจัยที่อธิบายการลดลงของรอยละของการใชเมล็ดพันธุของตนเองในพื้นที่นี้ ก็คือ
                  การทํานาในพื้นที่ชลประทาน โดยเฉพาะการเพาะปลูกขาวนาปรังในพื้นที่ชลประทานตองทําตอจากการปลูก

                  ขาวนาป ทําใหไมสามารถใชขาวเปลือกนาปมาเปนเมล็ดพันธุในการปลูกขาวนาปรังไดทันที เพราะขาวเปลือก
                  ตองมีระยะพักตัว จึงจะสามารถนํามาเปนเมล็ดพันธุได และถึงแมวาจะเปนพื้นที่ชลประทานเชนกัน แตรอยละ

                  ของการใชเมล็ดพันธุขาวของตนเองก็มีความแตกตางกันในแตละพื้นที่ ซึ่งจากการศึกษาของมาฆะสิริ เชาวกุล

                  (2559)  ในการทํานาปของเกษตรกรในพื้นที่ชลประทานในจังหวัด อุตรดิตถ พิษณุโลก นครสวรรค ชัยนาท
                  ขอนแกน และนครราชสีมา พบวา รอยละของเมล็ดพันธุขาวที่เปนของตนเองที่ใชในการเพาะปลูกขาวนาป ป

                  เพาะปลูก 2559 คือรอยละ 39.0 , 50.7 , 33.1 , 36.2 , 54.0 และ 48.0 ของปริมาณเมล็ดพันธุขาวที่ใชรวม




                                                            - 1 -
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26