Page 24 -
P. 24

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวและการประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชน

                  ในการดําเนินงานเชนเดียวกับป 2560 แตเพิ่มจํานวนกลุมเกษตรกรขึ้น ซึ่งกิจกรรมการเชื่อมโยงตลาดเปน
                  รูปแบบเดียวกับขอเสนอแนะของมาฆะสิริ เชาวกุล (2557) ในเรื่องพันธมิตรธุรกิจของการผลิตเมล็ดพันธุขาวให

                  ไดมาตรฐาน นั่นคือ ผูประกอบการคาเมล็ดพันธุขาว + กลุมเกษตรกร หรือ ศูนยขาวชุมชน + ศูนยเมล็ดพันธุ
                  ขาวหรือศูนยวิจัยขาว เทากับ การตลาด + การผลิต + มาตรฐานเมล็ดพันธุขาว ซึ่งรูปแบบพันธมิตรธุรกิจแบบนี้

                  ทําใหศูนยขาวชุมชนสามารถแกปญหาดานการตลาดเมล็ดพันธุขาวได โดยผูประกอบการรานคาเมล็ดพันธุขาว

                  จะรับผิดชอบดานการตลาดให อยางไรก็ตาม บทบาทที่สําคัญบทบาทหนึ่งของศูนยขาวชุมชนคือ การเปนแหลง
                  ผลิตเมล็ดพันธุขาวคุณภาพดีใหกับชุมชน ซึ่งศูนยขาวชุมชนจะตองรับผิดชอบการเปนทั้งผูผลิตและผูคาเมล็ด

                  พันธุขาว ดังนั้น การทราบถึงพฤติกรรมและลักษณะความตองการของการใชเมล็ดพันธุขาวของชุมชนที่อยูรอบ
                  ศูนยขาวชุมชนนั้น จะชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการวางแผนการผลิตเมล็ดพันธุขาวใหกับศูนยขาวชุมชนนั้นๆได


                  1.2  วัตถุประสงคของโครงการศึกษา

                        1) เพื่อวิเคราะหพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวของชุมชน
                        2) เพื่อประมาณการความตองการใชเมล็ดพันธุขาวของชุมชน

                        3) เพื่อวางแผนการผลิตเมล็ดพันธุขาวใหกับศูนยขาวชุมชน
                        4) พัฒนาเกณฑการรับรองมาตรฐานแปลงปลูกเมล็ดพันธุขาว พ.ศ. 2557 ใหสอดคลองกับมาตรฐาน

                           เมล็ดพันธุขาว พ.ศ. 2557 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจประเมินแปลงปลูกเมล็ดพันธุขาว

                        5) จัดทําหนังสือ “เศรษฐศาสตรเมล็ดพันธุขาว”



                  1.3  ระเบียบวิธีวิจัย (สําหรับการตอบวัตถุประสงคขอที่ 1-3)
                         ขอบเขตของการศึกษา

                         1)  ประชากรของการศึกษา
                                ประชากรของการศึกษาแบงเปน 3 กลุม ดังนี้คือ

                                ประชากรกลุมแรก คือ ศูนยขาวชุมชนที่ผลิตเมล็ดพันธุขาวในเชิงพาณิชย 5 จังหวัดภาคเหนือ
                  ตอนลาง และที่เขารวมโครงการเกษตรแปลงใหญในชวงป 2559-2561 คือ จังหวัด กําแพงเพชร สุโขทัย

                  พิษณุโลก พิจิตร และนครสวรรค ซึ่งมีจํานวนเทากับ 5 , 3 ,9 , 8 และ 8 ศูนย ตามลําดับ รวมเทากับ 33 ศูนย

                  ขาวชุมชน
                                ประชากรกลุมที่ 2 คือ เกษตรกรที่เปนสมาชิกของศูนยขาวชุมชนใน 5 จังหวัดขางตน พบวามี

                  รวมเทากับ 3,172  คน เฉลี่ยไดเทากับ 96 คนตอศูนยขาวชุมชน (กรมสงเสริมการเกษตร , 2561)
                                ประชากรกลุมที่ 3 คือ เกษตรกรที่มีพื้นที่ทํานาอยูในรัศมี 3 กิโลเมตรรอบศูนยขาวชุมชน

                  หรือประมาณเทากับ 17,678.57 ไร ถาใชพื้นที่ทํานาเฉลี่ยตอครัวเรือนของเกษตรกรในภาคเหนือตอนลางที่



                                                            - 4 -
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29