Page 23 -
P. 23

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวและการประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชน

                  ขาวในเขตชลประทานและพื้นที่ปลูกขาวนอกเขตชลประทาน จากการศึกษาของมานิต ฤาชา (2552) พบวา
                  อัตราการใชเมล็ดพันธุขาวปทุมธานี 1 เฉลี่ยตอไรเทากับ 27.67 กิโลกรัมตอไร ซึ่งสูงกวาอัตราที่ทางราชการ

                  แนะนําคือ 15 กิโลกรัมตอไรสําหรับการทํานาหวานน้ําตม โดยปจจัยที่กําหนดอัตราการใชเมล็ดพันธุขาว
                  ดังกลาว คือ เรื่องทัศนคติของเกษตรกรในการใชเมล็ดพันธุ ซึ่งสวนใหญเห็นวาอัตราที่ทางการกําหนดนั้นต่ํา

                  เกินไป เพราะตองเผื่อนก หนู และขาวลีบ ซึ่งเปนประเด็นคุณภาพของเมล็ดพันธุขาวที่เกษตรกรใช ซึ่งเกษตรกร

                  แกปญหาเรื่องคุณภาพของเมล็ดพันธุขาวโดยการเพิ่มปริมาณเมล็ดพันธุขาวที่ใชตอไร และการเปลี่ยนรานที่ซื้อ
                  เมล็ดพันธุขาว

                         จะเห็นไดวา ปจจัยที่อธิบายพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวของเกษตรกรนั้นมีความหลากหลายมาก
                  ตั้งแต ฤดูการเพาะปลูก นาปหรือนาปรัง พื้นที่เพาะปลูก ในเขตชลประทาน นอกเขตชลประทาน หรือ พื้นที่นา

                  น้ําฝน พฤติกรรมการปลูกขาวไวบริโภค การเก็บพันธุขาวของเกษตรกรเอง วิธีการเพาะปลูก ที่อาจเปนนาดํา
                  หรือ นาหวาน ความถี่ของการใชเมล็ดพันธุซ้ํา อัตราการใชเมล็ดพันธุตอไร คุณภาพของเมล็ดพันธุ ไปจนถึง

                  ทัศนคติของเกษตรกรแตละพื้นที่ในการใชเมล็ดพันธุ และปจจัยที่ควบคุมไมได เชน วิกฤติน้ําทวมและภัยแลง ซึ่ง
                  อาจจะมีปจจัยอื่นๆไดอีก เชน ราคาขาวเปลือกที่เกษตรกรคาดวาจะไดรับ ราคาเมล็ดพันธุ และหรือนโยบาย

                  ตางๆของรัฐที่เกี่ยวของ เชน โครงการนาแปลงใหญ ซึ่งปจจัยเหลานี้จะสงผลตอการคาดการณเกี่ยวกับการผลิต
                  เมล็ดพันธุขาวของผูผลิตเมล็ดพันธุขาวเชิงพาณิชย รวมไปถึงศูนยขาวชุมชน

                         เมื่อเดือนสิงหาคม 2558 รัฐบาลโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณมีนโยบายเกษตรแปลงใหญขึ้น ดวย

                  หลักการรวมกลุมเกษตรกรรายยอย รวมแปลงการผลิตใหเปนแปลงใหญ มีการบริหารกลุมในรูปแบบของกลุม
                  เกษตรกรหรือสหกรณ ที่มีเปาหมายเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ดวยการเพิ่มผลผลิตตอไร เพิ่มผลผลิตที่มี

                  คุณภาพและสงเสริมกิจกรรมลดตนทุนการผลิต มีการผลิตที่เชื่อมโยงกับตลาด เพื่อใหอุปทานสมดุลยกับอุปสงค
                  แกปญหาสินคาลนตลาดและราคาสินคาเกษตรตกต่ํา ทั้งนี้สินคาเกษตรที่เขารวมกับโครงการเกษตรแปลงใหญมี

                  ครอบคลุมทุกประเภทของสินคาเกษตร ตั้งแต ขาว พืชไร พืชสวน พืชอุตสาหกรรม (ออย ยางพาราและปาลม
                  น้ํามัน) ปศุสัตวและประมง สําหรับขาวและเมล็ดพันธุขาว กระทรวงเกษตรและสหกรณไดมอบหมายใหศูนย

                  เมล็ดพันธุขาวและศูนยวิจัยขาวทําหนาที่เปน “พี่เลี้ยง” ใหกับกลุมเกษตรกรและศูนยขาวชุมชนในการ
                  ดําเนินการผลิตขาวและเมล็ดพันธุขาวภายใตโครงการนาแปลงใหญ (www.moac.go.th/)

                         สําหรับกรณีนาแปลงใหญขาว กระทรวงเกษตรและสหกรณมีโครงการในการสงเสริมการเกษตรแปลง
                  ใหญ ป 2560 โดยแบงกิจกรรมออกเปน 4 กิจกรรมหลัก คือ (1) กิจกรรมการลดตนทุน ดวยการสงเสริมการ

                  ผลิตปจจัยการผลิตใชเอง รวมถึงเมล็ดพันธุขาว (2) กิจกรรมเพิ่มผลผลิต (3) กิจกรรมดานการจัดการตลาด ดวย

                  การเชื่อมโยงตลาด ซึ่งสําหรับเมล็ดพันธุขาว หนวยงานที่รับผิดชอบคือ กรมสงเสริมสหกรณจะทําการเชื่อมโยง
                  สกต. ซึ่งจะเปนผูรับซื้อเมล็ดพันธุขาวกับกลุมเกษตรกรที่ผลิตเมล็ดพันธุขาว (4) กิจกรรมสรางความเขมแข็ง

                  ใหกับชุมชน เปาหมายคือ การพัฒนาเกษตรกรใหเปน smart farmers โดยโครงการในป 2561 ยังคงมีแนวทาง




                                                            - 3 -
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28