Page 22 -
P. 22

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                  การศึกษาพฤติกรรมการใชเมล็ดพันธุขาวและการประมาณการความตองการเมล็ดพันธุขาวสําหรับศูนยขาวชุมชน

                  ตามลําดับ ตัวแปรที่อธิบายความแตกตางนี้ คือ พันธุของขาวที่ใช และ พฤติกรรมการปลูกขาวพันธุที่ครัวเรือน
                  บริโภค เชน ขาวเหนียว หรือ ขาวหอมมะลิ 105

                         นอกจากการใชเมล็ดพันธุของตนเองแลว การใชเมล็ดพันธุของตนเองซ้ําก็เปนอีกประเด็นหนึ่งที่มีผลตอ
                  การคาดการณการผลิตเมล็ดพันธุขาวเชิงพาณิชย วิลาศ วิชญะเดชา (2556) ระบุวา สําหรับการเพาะปลูกขาว

                  นาป ที่เปนนาดําและนาหวานน้ําตม เกษตรกรจะใชพันธุขาวซ้ํา 3 ป และ 2 ป ตามลําดับ จึงจะซื้อเมล็ดพันธุ

                  ขาวใหม สวนการปลูกขาวนาปรังนั้น เกษตรกรจะเปลี่ยนพันธุขาวทุกป ไมวาวิธีการปลูกจะเปนแบบใดก็ตาม
                         ในการผลิตเมล็ดพันธุขาวเพื่อการจําหนายนั้น นอกจากตองคาดการณเกี่ยวกับปริมาณรวมของเมล็ด

                  พันธุขาวที่ตองผลิตแลว ชนิดของเมล็ดพันธุขาวก็เปนอีกเรื่องหนึ่งที่ผูผลิตจําเปนจะตองคาดการณดวย ใน
                  ภาพรวม กรมการขาวคาดการณวา ในจํานวนเมล็ดพันธุรวม 421,000 ตันที่ผลิตจากแหลงตางๆ จะเปนเมล็ด

                  พันธุขาว ขาวหอมมะลิ ขาวหอม ขาวเจา ขาวเหนียว และขาวตลาดเฉพาะเทากับรอยละ 14.45 , 9.82 , 66.79
                  , 8.32 และ 0.61 ของเมล็ดพันธุขาวรวมที่ผลิต ตามลําดับ (กฤษณพงศ ศรีพงษพันธุกุล , 2561) แตเมื่อ

                  พิจารณาชนิดของพันธุขาวที่เกษตรกรในแตละพื้นที่ใช พบวา มีความหลากหลายมาก ซึ่งจากการศึกษาของ
                  มาฆะสิริ เชาวกุล (2559) พบวา พันธุขาวที่เกษตรกรใชในการปลูกขาวนาป ปเพาะปลูก 2558 มีตั้งแต ขาวขาว

                  ดอกมะลิ 105 ปทุมธานี 1 และขาว กข. ตางๆ สวนขาวเจา ก็จะมีตั้งแต ขาวพิษณุโลก 2 ชัยนาท 1  สุพรรณบุรี
                  1 กข. 31 กข. 41 กข. 49 กข.51 เปนตน สวนขาวเหนียว ก็จะมี สันปาตอง1 และ กข.6 นอกจากนี้ยังพบวา

                  เกษตรกรบางกลุมยังคงใชขาวพันธุพื้นเมือง เชน เหลืองประทิว เหลืองออน เปนตน โดยเฉพาะพันธุขาวขาว

                  ดอกมะลิ 105 จะเปนพันธุขาวที่เกษตรกรหันมาใชมากขึ้นในการปลูกขาวนาป  ทั้งนี้เพราะในชวง 4-5 ปที่ผาน
                  มา ราคาขาวเปลือกตกต่ํา เกษตรกรจึงเลือกพันธุขาวที่ใหราคาสูงกวามาปลูก นั่นคือ ขาวขาวดอกมะลิ 105

                  และขาวปทุมธานี 1 และเปนพันธุขาวที่เกษตรกรจะเก็บไวบริโภคในครัวเรือนดวย เนื่องจากในชวงเวลาที่ผาน
                  มา เกิดวิกฤติภัยแลงในชวงป 2557-2559 ที่ทําใหการปลูกขาวนาปรังลดลงมาก  เกษตรกรจึงปลูกขาวไวบริโภค

                  มากขึ้น การเกิดวิกฤติภัยแลงหรือน้ําทวม ยังเปนปจจัยที่ทําใหเกษตรกรเปลี่ยนพันธุขาวที่ใชปลูกอีกดวย
                         ตัวแปรอีกตัวหนึ่งที่มีผลกระทบตอการคาดการณการใชเมล็ดพันธุขาวคืออัตราการใชเมล็ดพันธุขาวตอ

                  ไร พบวา อัตราการใชเมล็ดพันธุขาวขึ้นอยูกับวิธีการปลูกขาวและฤดูการเพาะปลูก นั่นคือ อัตราการใชเมล็ด
                  พันธุขาวเฉลี่ยทั่วประเทศสําหรับการเพาะปลูกแบบนาดํา นาหวานน้ําตม นาหวานสํารวย และนาหยอด ของ

                  การปลูกขาวนาปในปเพาะปลูก 2559 เทากับ 8.54 , 26.08 ,20.51 และ 9.32 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ หรือ
                  เฉลี่ยรวมไดเทากับ 18.74 กิโลกรัมตอไร ในขณะที่อัตราการใชเมล็ดพันธุขาวเฉลี่ยทั่วประเทศสําหรับการปลูก

                  ขาวแบบนาดํา นาหวานน้ําตมและนาหวานสํารวยของการปลูกขาวนาปรังในปเพาะปลูก 2560 เทากับ 12.98 ,

                  28.14 และ 23.26 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ หรือเฉลี่ยรวมไดเทากับ 27.59 กิโลกรัมตอไร (ศูนยสารสนเทศ
                  สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร , 2561) ซึ่งสูงกวากรณีของขาวนาปพอสมควร นอกจากนี้ยังพบวา อัตราการใช

                  เมล็ดพันธุขาวยังมีความแตกตางกันในระหวางภูมิภาคตางๆดวย และยังอาจแตกตางกันในระหวางพื้นที่ปลูก




                                                            - 2 -
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27