Page 49 -
P. 49

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                           45


                                          +
               ราคาข้าวส่งออก ดังนั้น  ECT paddy,t 1 −   แสดงราคาข้าวเปลือกภายในประเทศสูงกว่าราคาดุลยภาพ ในขณะที่
                    −
                                                                                                     +
                ECT paddy,t 1 −   แสดงราคาข้าวเปลือกภายในประเทศอยู่ต่ำกว่าราคาดุลยภาพ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์   paddy  และ
                 −   แสดงความเร็วในการปรับตัวกลับเข้าสู่ดุลยภาพเมื่อราคาข้าวเปลือกสูงกว่าและต่ำกว่าราคาดุลยภาพ
                 paddy
               ตามลำดับ

                       ในทำนองเดียวกับสมการ (3.1) สามารถกำหนดแบบจำลอง AECM สำหรับการวิเคราะห์ความสัมพันธ์
               ระหว่างราคาข้าวสารภายในประเทศกับราคาส่งออกและการปรับตัวกลับเข้าสู่ดุลยภาพ ดังนี้

                                                                       N
                                                    M
                                 0 
                        p rice,t  =  +  K   rice,j  p rice,t-j   FOB,j  p FOB,t-j+1   FOB, j  p − FOB,t-j+1
                                                                    +
                                                              +
                                                        +
                                                                           −
                                                  +
                                    j=1             j=1                j=1
                                                    +  rice ECT rice,t 1−  +  +  rice ECT rice,t 1−  −  +  rice,t         (5.2)
                                                       +
                                                                     −
                       เมื่อ  p  คืออัตราการเปลี่ยนแปลงของราคาข้าวสารภายในประเทศ  p   + FOB,t-j+1  และ  p − FOB,t-j+1  คือ
                                                                                   
                                                                                                 
                           
                              rice
                              t
               อัตราการเปลี่ยนแปลงราคาข้าวส่งออกในทิศทางเพิ่มขึ้นและลดลงตามลำดับ  rice,t   คือ ตัวรบกวนสุ่ม นอกจากนั้น
                                                −
                         +     −     และ   คือค่าพารามิเตอร์ที่ต้องประมาณการด้วยวิธีทางเศรษฐมิติ
                                       +
                 0   rice,j  FOB,j  FOB, j  rice  rice
                                                                                                          rice
                       การประมาณค่าสมการ (5.1) และ (5.2) มีเงื่อนไขสำคัญ คือตัวแปรราคาข้าว  p paddy   p FOB   และ p
                                                                                                          t
                                                                                                t
                                                                                          t
               จะต้องไม่นิ่ง (non-stationary) ที่ระดับ (level) แต่จะต้องมีความนิ่ง (stationary) เมื่อแปลงให้อยู่ในรูปของ
               ผลต่างลำดับแรก (first difference) กล่าวคือตัวแปรราคาข้าวทั้งสามจะต้องเป็น integrate of order one หรือ
                                                                              rice
               I(1) นอกจากนั้นตัวแปรแต่ละคู่ คือ  p paddy  กับ  p FOB   และ p FOB 1  และ  p  จะต้องมีความสัมพันธ์กันในระยะ
                                                                   −
                                                                   t j+
                                                                              t
                                               t
                                                         t
               ยาวระหว่างกัน หรือจะต้องมีเวคเตอร์แสดงความสัมพันธ์ระยะยาว (cointegration vector) อยู่
                       การทดสอบสมมติฐานทางสถิติว่าข้อมูล p paddy   p FOB  และ p  เป็น I(1) หรือไม่ สามารถทำได้โดยใช้
                                                                          rice
                                                                 t
                                                                          t
                                                          t
               วิธีการทดสอบ Augmented Dicky-Fuller test (ADF test) หรือวิธีการทดสอบ Phillip-Perron test (PP test)
               ในขณะที่การทดสอบการมีอยู่ของเวคเตอร์ความสัมพันธ์ระยะยาวระหว่างตัวแปรสามารถทำได้โดยใช้วิธีการ
               ทดสอบ Johansen cointegration test
                       ภายหลังจากการทดสอบความนิ่งของข้อมูลและการมีอยู่ของเวคเตอร์ความสัมพันธ์ระยะยาวแล้ว สามารถ
               ประมาณค่าสัมประสิทธิ์ในสมการ (5.1) และ (5.2) ด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุดแบบธรรมดา (ordinary least-
               square) ต่อจากนั้นสามารถใช้วิธีการทดสอบ Wald test เพื่อทดสอบสมมติฐานเชิงสถิติเพื่อทดสอบว่ากลไกการ
               ส่งผ่านราคาในตลาดข้าวเปลือกมีลักษณะสมมาตรหรือไม่ โดยมีการตั้งสมมติฐานสำหรับการทดสอบ ดังนี้
                                0 
                                                             1 
                              H :    M    rice,j   +  =  M    rice,j     H :    M    rice,j   +    M    rice,j           (5.3)
                                                                              −
                                                 −
                                    j=1      j=1                j=1       j=1
                                                             1 
                                0 
                       และ    H :    M    rice,j   +  =  M    rice,j     H :    M    rice,j   +    M    rice,j           (5.4)
                                                 −
                                                                             −
                                    j=1      j=1                j=1      j=1
                       ถ้าหากผลการทดสอบสมมติฐาน (5.3) และ (5.4) ไม่สามารถปฏิเสธสมมติฐานว่าง H  แสดงว่ากลไกการ
                                                                                             0
               ส่งผ่านราคาในตลาดข้าวเปลือกมีความสมมาตรทั้งในด้านขนาดและความเร็วในการปรับตัว แต่ถ้าผลการทดสอบ
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54