Page 48 -
P. 48

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                           44


                                                           บทที่ 5

                                                         วิธีการศึกษา


                       เนื้อหาในส่วนนี้จะกล่าวถึงการกำหนดแบบจำลองทางเศรษฐมิติ วิธีการประมาณค่าแบบจำลอง และ

               วิธีการทดสอบสมมติฐานเชิงสถิติเกี่ยวกับความไม่สมมาตรในการส่งผ่านราคาข้าวของไทย นอกจากนั้นจะกล่าวถึง
               ข้อมูลของตัวแปรที่จำเป็นต้องใช้ในการประมาณค่าแบบจำลอง รวมถึงผลการทดสอบทางสถิติที่จำเป็นเพื่อ

               ตรวจสอบว่าข้อมูลตัวแปรที่มีความเหมาะสมที่จะใช้ในการประมาณการแบบจำลองที่จะใช้ในการศึกษาหรือไม่ อัน

               ได้แก่ การทดสอบความนิ่ง  (stationary test) และการทดสอบความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาว
               (cointegration test)



               5.1 แบบจำลองทางเศรษฐมิติ
                       การศึกษาครั้งนี้วิเคราะห์กลไกการส่งผ่านราคาและการปรับตัวของราคาระหว่างราคาข้าวเปลือกและ

               ราคาข้าวสารภายในประเทศต่อการปรับตัวของราคาข้าวส่งออก โดยมุ่งเน้นทดสอบว่าการปรับราคาข้าวเปลือกมี

               การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงราคาข้าวสาร และในขณะเดียวกันราคาข้าวสารในประเทศมีความเร็วในการ
               ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงราคาข้าวส่งออกอย่างเท่าเทียมกันระหว่างช่วงราคาปรับขึ้นกับราคาปรับลงหรือไม่

               โดยใช้วิธี AECM ตามแนวทางของ von Cramon et.al (1996) และ von Cramon et.al (1998) ดังนี้

                                                                          N
                                                        M
                                  0 
                        p paddy,t  =   +  K   paddy,j  p paddy,t-j   rice,j  p rice,t-j+1   rice, j  p − rice,t-j+1
                                                      +
                                                            +
                                                                  +
                                                                       +
                                                                              −
                                      j=1               j=1               j= 1
                                                       +
                                                    +  paddy ECT paddy,t 1 −  +  +  paddy ECT paddy,t 1 −  −  +  paddy,t       (5.1)
                                                                       −
                       เมื่อ  p paddy,t   และ p rice,t   คือราคาข้าวเปลือกและราคาข้าวสารตามลำดับ โดยที่   แสดงถึงการ
               เปลี่ยนแปลงของราคาเมื่อเทียบกับช่วงเวลาก่อนหน้า ดังนั้น  p  paddy,t  คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของราคา
                                                               
                                                 
               ข้าวเปลือกภายในประเทศ ในขณะที่  p   + rice,t j+ −  1  และ  p − rice,t j+ −  1  คืออัตราการเปลี่ยนแปลงราคาข้าวสารใน
               ทิศทางเพิ่มขึ้นและลดลงตามลำดับ โดยมีเงื่อนไขดังนี้
                                           p     − p       if  p       − p      0
                                                                              −
                                                        −
                                               −
                                                                    −
                                p +   =    rice,t j+ 1  rice,t j  rice,t j+ 1  rice,t j
                                    −
                                 rice,t j+
                                      1
                                                 0                  otherwise
                                           p     − p       if  p       − p      0
                                p −   =    rice,t j+ 1  rice,t j  rice,t j+ 1  rice,t j
                                                                    −
                                               −
                                                        −
                                                                              −
                                    −
                                 rice,t j+
                                      1
                                                 0                  otherwise
                                                                         −
                                                                                        −
                                                                     +
                 paddy,t  ในสมการ (5.1) คือ ตัวรบกวนสุ่ม ในขณะที่           paddy  และ  paddy  คือค่าพารามิเตอร์
                                                                             +
                                                                         j
                                                                     j
                                                                 0
                                                                                −
                                        +
                                                               FOB
                                                                                                      FOB
               สัมประสิทธิ์ สังเกตว่า  ECT paddy,t 1 −  =  p paddy   −  0   −  1 t 1 −    0 และ  ECT paddy,t 1 −  =  p paddy   −  0   −  1 t 1 −    0
                                                                                                     p
                                                             p
                                                                                         t 1 −
                                                 t 1 −
               แสดงการเบี่ยงเบนออกจากความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาวในช่วงเวลาที่ผ่านมา โดยที่
                p paddy   −  0   −  1 t 1−  p  แสดงความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาวระหว่างราคาข้าวเปลือกภายในประเทศและ
                              FOB
                 t 1−
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53