Page 22 -
P. 22
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
18
−
เมื่อ แสดงผลต่างลำดับแรก (first difference) ของตัวแปร ค่าสัมประสิทธิ์ และ แสดง
+
j
j
ความเร็วในการปรับตัวเมื่อราคาสูงขึ้นและราคาลดลงในช่วงเวลาที่ j ในขณะที่ผลรวมของค่าสัมประสิทธิ์
+
j
−
และ แสดงความแตกต่างในขนาดระหว่างราคาปรับตัวขึ้นและราคาปรับตัวลง
j
2.2.2 แบบจำลองการปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพในระยะยาว
แบบจำลองการปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพในระยะยาว (error correction model หรือ ECM) ใช้วิเคราะห์
ความสัมพันธ์ตัวแปรอนุกรมเวลาที่ไม่มีความนิ่ง (non-stationary time-series variable) ตามปกติแล้วการ
ประมาณค่าสมการถดถอยโดยใช้ข้อมูลอนุกรมเวลาของตัวแปรตามและตัวแปรอิสระไม่มีความนิ่งจะมีความเสี่ยงที่
จะได้สมการถดถอยที่มีความสัมพันธ์ปลอม (spurious regression) แต่อาจเป็นไปได้ว่าตัวแปรตามและตัวแปร
อิสระมีความสัมพันธ์เชิงดุลยภาพในระยะยาวระหว่างกัน ในกรณีเช่นว่านี้ตัวแปรตามและตัวแปรอิสระอาจ
เบี่ยงเบนออกจากความสัมพันธ์ในระยะยาวได้เพียงชั่วคราว แต่ในระยะยาวแล้วตัวแปรตามและตัวแปรอิสระจะมี
แนวโน้มกลับเข้าสู่ความสัมพันธ์ดุลยภาพในระยะยาว รูปแบบสมการแสดงการปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพในระยะยาว
ระหว่างราคาปลายทางกับราคาต้นทางสามารถแสดงได้ดังนี้
0
p out = + K p in − 1 + ECT + (2.4)
+
t−
t j+
t
j
1
t
j= 1
เมื่อ ECT t− 1 = p out − − p คือขนาดของการเบี่ยงเบนออกจากดุลยภาพในระยะยาว (error
in
t 1
−
t 1
−
correction term) ในขณะที่ ตัวรบกวนสุ่มที่มีความแปรปรวนคงที่และไม่มีสหสัมพันธ์กันเอง ค่าสัมประสิทธิ์
t
แสดงความเร็วในการปรับตัวเข้าสู่ดุลยภาพในระยะยาว โดยที่ 1 ตัวอย่างเช่น ถ้า ECT แสดง
−
0
0
1
p มีค่าสูงกว่าดุลยภาพในระยะยาว เมื่อเวลาผ่านไปจะพบว่า ECT จะค่อยๆปรับตัวลดลง จนกระทั่งหายไป
out
1
p ก็จะกลับสู่ดุลยภาพในระยะยาว
out
t
แบบจำลอง ECM ในสมการ (2.4) สามารถปรับปรุงให้วิเคราะห์และทดสอบการปรับตัวที่ไม่สมมาตราของ
ราคาสินค้าได้โดยการแยกพิจารณาการเบี่ยงเบนออกจากดุลยภาพ ECT ออกเป็นการเบี่ยงเบนที่อยู่สูงกว่าดุลย
ภาพ ECT และการเบี่ยงเบนที่อยู่ต่ำกว่าดุลยภาพ ECT ดังแสดงในสมการ (2.5) ดังนี้
−
+