Page 145 -
P. 145

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               5.3 ข้อเสนอแนะ

                       จากการศึกษาในครั้งนี้ ผู้ศึกษามีขอเสนอแนะอันอาจเป็นประโยชนตอผู้ประกอบการทั้งผู้ผลิตและจัด
               จ าหน่ายทุกระดับ หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของและผู้สนใจศึกษาดังต่อไปนี้

                       การน าผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์

               □ ด้านนโยบาย             โดย หน่วยงาน (ภาครัฐ/เอกชน)
               มีการน าไปใช้อย่างไร

                       ผลจากการศึกษาครั้งนี้จะเป็นข้อมูลในการประเมินเบื้องต้นเพื่อเป็นแนวทางส าหรับผู้ที่มีอ านาจ หรือ

               มีส่วนที่เกี่ยวข้องในการก าหนดนโยบาย เพื่อด าเนินการวิจัยและพัฒนา ปรับเปลี่ยนรสชาติข้าวเพื่อตอบสนอง
               ความต้องการที่แท้จริงของผู้บริโภคชาวจีน รวมถึงการพัฒนามาตรฐานที่เป็นที่ยอมรับในประเทศจีน เช่น

               มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของประเทศจีน เกษตรอินทรีย์สากล น าเสนอเรื่องสินค้าเกษตรอินทรีย์ เกษตรปลอด
               สาร เป็นวาระหลัก ตอบโจทย์คุณภาพชีวิตของผู้บริโภคชาวไทยและผู้บริโภคชาวจีน รวมถึงเป็นแนวทางในการ

               ต่อยอดไปสู่ผู้บริโภคในกลุ่มเป้าหมายอื่นๆ พัฒนาจากจากพื้นฐานต่อยอดสู่ระดับสากล


               □  ด้านสาธารณะ          โดย สถาบันการศึกษา  ผู้ประกอบการและเกษตรกร

                มีการน าไปใช้อย่างไร

                       โครงการ “การรับรู้ทางประสาทสัมผัสร่วมกับปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อข้าวหอมมะลิ พฤติกรรมการ
               สับเปลี่ยนตราสินค้าและความเต็มใจจ่ายของผู้บริโภคชาวจีน” ได้รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับ

               คุณลักษณะของข้าวไทยที่ตรงกับความพึงพอใจของผู้บริโภคชาวจีน พร้อมทั้งปัจจัยต่างๆที่ผู้บริโภคชาวจีน
               พอใจ โดยจะจัดพิมพ์ในรูปแบบผลงานวิจัยเผยแพร่ต่อสาธารณะชนให้ผู้เกี่ยวข้องทั้งสถาบันการศึกษา

               ผู้ประกอบการ และเกษตรกรได้ศึกษา และน าไปประยุกต์ใช้ในอนาคต


               □  ด้านชุมชนและพื้นที่     โดย  หน่วยงาน (ภาครัฐ)

               มีการน าไปใช้อย่างไร

                            ผลการด าเนินงานโครงการ “การรับรู้ทางประสาทสัมผัสร่วมกับปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อข้าว
               หอมมะลิ พฤติกรรมการสับเปลี่ยนตราสินค้าและความเต็มใจจ่ายของผู้บริโภคชาวจีน”  สามารถช่วยส่งเสริม

               การผลิตข้าวไทยของวิสาหกิจชุมชนในประเทศไทย ให้มีกระบวนการท างานอย่างเป็นระบบ สอดคล้องและ

               ตอบสนองกับปัญหา จะส่งผลให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเห็นช่องทางการตลาดภายในประเทศและสามารถต่อยอด
               ไปจัดจ าหน่ายที่ประเทศจีน  สามารถวางแผนการผลิตข้าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ  เกิดการพึ่งพาตนเองได้ใน

               ชุมชน สามารถต่อยอดสร้างศูนย์การเรียนรู้ (แหล่งเรียนรู้ชุมชน) โดยมีวิทยากรท้องถิ่นที่มีความรู้และผ่านการ

               อบรม  ทั้งนี้ ผลจากโครงการเพิ่มเพื่อให้กลุ่มเครือช่ายวิสาหกิจชุมชน/OTOP ได้มาเรียนรู้ศูนย์การเรียนรู้
               ดังกล่าว นอกจากนี้ข้าราชการในอ าเภอ/จังหวัด สามารถบรรจุแผนงาน/โครงการ เพื่อสนับสนุนงานวิสาหกิจ

               ชุมชนในพื้นที่ที่รับผิดชอบไว้ในงบประมาณจังหวัดปีถัดๆ ไปได้อีกด้วย




                                                           128
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150