Page 35 -
P. 35
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การวัดค่าพีเอช 2. วัดด้วยน�้ายาเปลี่ยนสีอินดิเคเตอร์
ของดินนั้น เราสามารถ (Indicator) คือ สารที่ใช้ทดสอบความเป็น
วัดได้หลายวิธี แต่วิธี กรด-ด่างของสารละลายได้ เป็นสารอินทรีย์มี
โครงสร้างสลับซับซ้อนอาจเป็นกรด หรือด่างอ่อนๆ
ที่นิยมใช้มากที่สุดใน อินดิเคเตอร์จะมีสมบัติเฉพาะตัวของมันเอง คืออิน
ปัจจุบันนี้มีอยู่สองวิธี ดิเคเตอร์แต่ละชนิดมีช่วง pH ของการเปลี่ยนสี
จ�ากัด โดยทั่วไปสารที่เป็นอินดิเคเตอร์จะให้สีแตก
ด้วยกัน คือ ต่างกัน และสีของอินดิเคเตอร์จะเปลี่ยนไปเมื่อค่า
pH ของสารละลายเปลี่ยนแปลง
1.วัดด้วยเครื่องวัด ที่เรียกว่า
pH meter หลักการของ pH meter คือการ
วัดค่าความต่างศักย์ (Potentiometry) ที่
ความดันและอุณหภูมิคงที่ โดยวัดค่าความ
ต่างศักย์ไฟฟ้าของสารละลายในรูปของ H+
เปรียบเทียบกับค่าศักย์ไฟฟ้าของ pH buffer
solution ที่ pH 4.0, pH 7.0 และ pH 10.0
มีด้วยกัน 2 แบบ คือ รูปที่ 3 สีของอินดิเคเตอร์แต่ละชนิด จะเปลี่ยนไปในช่วง pH ที่ต่างกัน
1) แบบตั้งโต๊ะ เหมาะส�าหรับงานใน ที่มา: http://mtpleasant.glk12.org/mod/resource/view.php?id=7515
ห้องปฏิบัติการไม่ควรเคลื่อนย้ายบ่อยๆ เพราะ
อาจท�าให้เครื่องเสียหายได้
2) แบบพกพา เหมาะส�าหรับงานใน
ภาคสนาม สามารถน�าไปใช้นอกอาคารได้ ข้อดี
ของการใช้ pH meter คือ สามารถบอกความ
ละเอียดของค่าได้ถึง ± 0.001 หน่วยข้อเสีย
คือ ราคาแพง ค่าที่เครื่องอ่านได้อาจผิดพลาด
ถ้าสารละลาย pH buffer เสื่อมคุณภาพ ค่าของ
pH buffer ผิดเพี้ยนจากค่าจริง เมื่อน�ามาส
อบเทียบเครื่องมือ เครื่องจะจ�าค่าที่ผิด ท�าให้
เมื่อวัดตัวอย่างดิน ค่าที่ได้ก็จะผิดเพี้ยนไปด้วย
ดังนั้นผู้ใช้ต้องมีความรู้ด้านเครื่องมือเป็นอย่าง
ดี ถึงจะใช้งานได้ค่าพีเอชที่ถูกต้อง
มกราคม-เมษายน 2562 เกษตรอภิรมย์ 35