Page 32 -
P. 32
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เมื่อพืชดูดไอออน หรือโมเลกุลของธาตุเข้า
ส�าหรับสัญลักษณ์ธาตุ รูปทางไอออนที่พืชดูดใช้ สู่เซลล์แล้วจะมีการน�าธาตุอาหารไปใช้ประโยชน์ใน
แหล่งการได้มาของแต่ละธาตุ และความเข้มข้น 2 ลักษณะ คือ 1) ธาตุอาหารส่วนหนึ่งเข้าไปอยู่ใน
ในเนื้อเยือพืช แสดงดังตาราง โครงสร้างของสารอินทรีย์ (structural function) และ
2) ธาตุอาหารอีกส่วนหนึ่งจะถูกใช้เป็นโคแฟกเตอร์
(cofactor) ของเอนไซม์ (catalytic function)
จ�านวนอะตอมของธาตุ
ธาตุ ความเข้มข้นใน รูปทางไอออนที่ ด้วยหน้าที่ของธาตุอาหารที่มีความเฉพาะ
อาหารพืช เมื่อเทียบกับจ�านวน เนื้อเยื่อพืช* พืชดูดใช้ เจาะจง ท�าให้ธาตุอาหารพืชทุกธาตุมีความจ�าเป็นต่อ
อะตอมโมลิบดินัม
พืชได้รับจากอากาศ การเจริญเติบโตของพืชทั้งสิ้น หากขาดแม้แต่เพียง
ธาตุเดียวก็จะท�าให้พืชไม่สามารถเจริญเติบโตจนครบ
H 60,000,000 6.0 % H O
2
วัฏจักรชีพ (life cycle) หรืออาจถึงตายได้ ในระบบ
O 30,000,000 45.0 % O , CO , H O
2 2 2 การปลูกพืชที่มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตออกไปจากพื้นที่
C 30,000,000 45.0 % CO หากดินไม่สามารถชดเชยธาตุอาหารที่สูญเสียไปได้
2
พืชได้รับจากดิน อย่างพอเพียง เราจึงต้องเพิ่มเติมธาตุอาหารในรูปของ
ปุ๋ยเข้าไปทดแทน ทั้งจากปุ๋ยเคมีที่ใช้เพื่อการบ�ารุงพืช
N 1,000,000 1.5 % NH , NO ,
-
+
4
3
โมเลกุลยูเรีย และปุ๋ยอินทรีย์ที่ใช้เพื่อการบ�ารุงดิน และไม่ว่าจะเลือก
ใส่ปุ๋ยประเภทใด สุดท้ายแล้วพืชก็ดูดใช้ในรูปทางไอออน
K 400,000 1.0 % K +
เหมือนกัน
Ca 200,000 0.5 % Ca +2
ให้ภาพเล่าเรื่องต่อ....บทส่งท้ายเพื่อ
Mg 100,000 0.2 % Mg +2
ยืนยันถึงความจ�าเป็นของธาตุอาหารพืช ขอน�าภาพ
P 30,000 0.2 % H PO , HPO -2 พื้นผิวใบข้าวที่ถ่ายจากกล้องจุลทรรศน์แบบส่อง
-
2 4 4
S 30,000 0.1 % SO -2 กราดแสดงถึงร้อยละของธาตุอาหารต่างๆ ที่พบใน
4
ในข้าว...โปรดติดตามฉบับต่อไป
พืชได้รับจากดิน
Cl 3,000 100 ppm Cl -
(0.01 %)
Fe 2,000 100 ppm Fe , Fe +3
+2
B 2,000 20 ppm H BO , H BO -
3 3 2 4
Mn 1,000 50 ppm Mn +2
Zn 300 20 ppm Zn +2
+
Cu 100 6 ppm Cu , Cu +2
Mo 1 0.1 ppm MoO , HMoO -
-2
4 4
Ni - 0.05-5** Ni +2
* ความเข้มข้นในน�้าหนักแห้งของพืชที่คาดว่าเพียงพอส�าหรับพืชทั่วไป
** Epstien and Bloom, 2005
Service Info c 0 0 7
32 เกษตรอภิรมย์ มกราคม-เมษายน 2562