Page 30 -
P. 30

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์



                 โดยจุลินทรีย์ที่น�ามาใช้เป็นปุ๋ยชีวภาพนั้นมีหลาย
          ชนิดทั้งแบคทีเรีย รา สาหร่าย และแอคติโนไมซีต (ภาพที่ 2)

          ขั้นตอนการผลิตปุ๋ยชีวภาพ (ภาพที่ 3) จะต้องมีการคัดเลือก
          จุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการใช้ประโยชน์ด้านการเกษตร
          โดยเฉพาะในเรื่องของการให้ธาตุอาหารพืชเซลล์จุลินทรีย์
          ต้องมีขนาดใหญ่ เจริญเติบโตได้ดีและรวดเร็ว สามารถเกิด

          กิจกรรมหรือกระบวนการที่เป็นประโยชน์ การจัดจ�าแนก
          ชนิดของจุลินทรีย์ก็ส�าคัญเพราะนอกจากเราจะทราบชนิด
          ของจุลินทรีย์นั้นแล้ว ยังพิจารณาได้ว่าเป็นจุลินทรีย์ก่อโรค
          ในคน สัตว์และพืชหรือไม่หากเป็นจุลินทรีย์ที่ไม่ดีก็ไม่ควรน�า     ภาพที่ 3 ขั้นตอนการผลิตปุ๋ยชีวภาพ

          มาใช้เป็นปุ๋ยชีวภาพ จากนั้นจะต้องน�ามาขยายเชื้อและเพิ่ม
          จ�านวนให้มีปริมาณมากขึ้นโดยการเลี้ยงเชื้อในห้องปฏิบัติ        ปุ๋ยชีวภาพในประเทศไทยตามพระราชบัญญัติปุ๋ย
          การ หากท�าเป็นการค้าควรเลี้ยงในถังหมักขนาดใหญ่เพื่อให้  (ฉบับที่ 2) 2550 ระบุไว้ว่าผู้ที่ได้รับใบอนุญาติผลิตปุ๋ยชีวภาพ
          ได้จุลินทรีย์จ�านวนมากในกรณีที่ใช้เป็นหัวเชื้อเหลวก็สามารถ  เพื่อการค้าจะต้องจัดให้มีฉลากภาษาไทยที่ถูกต้องและแสดง

          น�าไปบรรจุขวดใช้ต่อไป ถ้าจะน�ามาผลิตเป็นผงเชื้อต้องน�าหัว  ข้อความดังต่อไปนี้ เช่นชื่อทางการค้า เครื่องหมายการค้า
          เชื้อที่ขยายแล้วผสมกับวัสดุรองรับ ซึ่งควรมีสมบัติอุ้มน�้าได้  ปริมาณจุลินทรีย์รับรองวิธีการเก็บรักษาน�้าหนักสุทธิหรือขนาด
          ดี มีรูพรุน มีพีเอชเป็นกลาง ไม่เป็นพิษต่อจุลินทรีย์ เป็นต้น    บรรจุของปุ๋ยชีวภาพตามระบบเมตริกวัสดุรองรับของปุ๋ยชีวภาพ
          การบรรจุซองและเก็บรักษาควรบรรจุใส่ถุงที่สะอาด ผ่านการ  ชื่อผู้ผลิต และที่ตั้งส�านักงานและสถานที่ผลิตปุ๋ยชีวภาพเพื่อการ

          ฆ่าเชื้อหรือผ่านความร้อนแล้ว เก็บรักษาในที่ร่มไม่ให้โดนแสง  ค้าวันที่ผลิตและวันสิ้นอายุของปุ๋ยชีวภาพ เป็นต้น ปริมาณของ
          แดงเพราะจุลินทรีย์อาจตายได้ เราสามารถตรวจสอบคุณภาพ     จุลินทรีย์ในปุ๋ยชีวภาพทั่วไปอยู่ในช่วง 106-108เซลล์ต่อกรัม
          ของผงเชื้อที่ผลิตได้เมื่อเก็บรักษาเป็นระยะเวลา 6 เดือน ถึง   ของผงเชื้อ หรือเซลล์ต่อมิลลิลิตร ซึ่งจ�านวนเซลล์มีหน่วยนับเป็น
          1 ปี โดยการตรวจสอบจ�านวนจุลินทรีย์ และประสิทธิภาพ      colony forming unit (CFU) และก�าหนดเกณฑ์คลาดเคลื่อน

          ของจุลินทรีย์ชนิดนั้น ๆ  วิธีใช้ปุ๋ยชีวภาพจะใช้ในรูปของ   ขั้นต�่าร้อยละ 10 ของปริมาณจุลินทรีย์รับรอง
          หัวเชื้อหรือผงเชื้อโดยตรง ใช้รองก้นหลุม โรยตามร่องปลูก
          หรือโคนต้น ถ้าอยู่ในรูปหัวเชื้อเหลวก็สามารถใช้ฉีดพ่นได้
                                                                           จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นความแตกต่างของ
                                                                    ปุ๋ยน�้าหมักชีวภาพและปุ๋ยชีวภาพได้ชัดเจน ปุ๋ยน�้าหมัก

                                                                    ชีวภาพเป็นของเหลวเกิดจากกระบวนการย่อยสลาย
                                                                    วัสดุอินทรีย์ชนิดต่างๆ ซึ่งหาได้จากชุมชน หรือท้องถิ่น
                                                                    นั้น มีจ�านวนมาก หาง่าย ราคาไม่แพงหรือไม่เสียค่า
                                                                    ใช้จ่าย ท�าให้เกษตรกรสามารถผลิตใช้เองได้  ให้ธาตุ
                                                                    อาหาร กรดอินทรีย์ กรดอะมิโน ฮอร์โมน วิตามิน และ

                                                                    อื่น ๆ ในขณะที่ปุ๋ยชีวภาพคือจุลินทรีย์ที่มีชีวิตสามารถ
                                                                    สร้าง ปลดปล่อย หรือท�าให้ธาตุอาหารอยู่ในรูปที่เป็น
                                                                    ประโยชน์ ซึ่งจุลินทรีย์ที่ใส่ลงดินในรูปผงเชื้อหรือหัว

                                                                    เชื้อเหลวสามารถท�างานได้ในดิน จุลินทรีย์สามารถแปร
                                                                    สภาพธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และจุล
                                                                    ธาตุบางชนิดให้อยู่ในรูปที่เป็นประโยชน์ต่อพืช ส่งเสริม

          ภาพที่ 2 ปุ๋ยชีวภาพชนิดต่างๆ (ก.) แบคทีเรียย่อยสลายเซลลูโลส      การเจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตพืชได้ นอกจากความ
                     (ข.) แบคทีเรียตรึงไนโตรเจน (ค.) ราละลายฟอสเฟต และ   หมายของปุ๋ยน�้าหมักชีวภาพและปุ๋ยชีวภาพจะแตกต่าง
                     (ง.) ราไมคอร์ไรซา (ดัดแปลงจาก Nopparatet al., 2007)  กันแล้ว วิธีการผลิต การน�าไปใช้ รวมถึงเกณฑ์มาตรฐาน

                                                                    ที่ก�าหนดส�าหรับปุ๋ยทั้งสองชนิดยังแตกต่างกันอีกด้วย
                                    Service Info  c 0  0  6
        30   เกษตรอภิรมย์ มกราคม-เมษายน 2562
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35