Page 33 -
P. 33
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เกษตร โฟกัส
โดย : ศิริสุดา บุตรเพชร
ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร ก�าแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พีเอชของดินมีความส�าคัญต่อการเจริญ
ปฏิกิริยาดิน (soil reaction) หรือ พีเอช เติบโตของพืชเนื่องจาก พีเอชของดินส่งผลกระทบ
ของดิน (soil pH) หมายถึง ระดับขั้นของสภาพกรด ต่อปฏิกิริยาทางเคมีและทางชีวภาพในดินหลาย
หรือสภาพด่างของดิน ซึ่งแสดงด้วยค่า pH ของดินคือ ประการ คือ พีเอชของดินเป็นตัวก�าหนดความ
เป็นประโยชน์ของธาตุอาหารโดยควบคุมการ
pH สภาพกรดหรือสภาพด่างของดิน
<3.5 กรดรุนแรงมากที่สุด ละลายและการตกตะกอน ดินที่มีค่า pH ต�่ากว่า
3.5-4.5 กรดรุนแรงมาก 5.5 ความเป็นประโยชน์ของธาตุ Ca, Mg, P และ
4.6-5.0 กรดจัดมาก Mo จะต�่า แต่ในทางกลับกันการละลายของธาตุ
5.1-5.5 กรดจัด Fe, Al จะมากขึ้น และอาจสูงถึงระดับที่เป็นพิษ
5.6-6.0 กรดปานกลาง ต่อพืชได้ ส่วนดินที่มีค่า pH 7.8 หรือสูงกว่านี้
6.1-6.5 กรดเล็กน้อย ปริมาณของ Ca และ Mg จะมีมาก และ Mo ก็จะ
6.6-7.3 กลาง ละลายได้มากขึ้น แต่ธาตุอาหาร Fe, Mn, Zn, P
7.4-7.8 ด่างเล็กน้อย และ B อาจจะละลายออกมาไม่เพียงพอต่อความ
7.9-8.4 ด่างปานกลาง ต้องการของพืชได้
8.5-9.0 ด่างจัด ในทางชีวภาพโดยทั่วไปแล้ว pH ระหว่าง
>9.0 ด่างจัดมาก 6.0-7.3 เป็นช่วงที่เหมาะสมส�าหรับกิจกรรมของ
จุลินทรีย์ดินที่เพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุ N,
S และ P
มกราคม-เมษายน 2562 เกษตรอภิรมย์ 33