Page 28 -
P. 28
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เกษตร โฟกัส
โดย : อาจารย์ ดร.สิรินภา ช่วงโอภาส
ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร ก�าแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
agrsrnp@ku.ac.th
ในปัจจุบันเรามักต้องการหลีกเลี่ยงสารเคมีต่างๆ ที่ใช้ใน
การเกษตรเพราะสารเคมีเหล่านี้ถ้าใช้ในอัตราที่เข้มข้นและบ่อย
เกินไปจะมีผลต่อสุขภาพของผู้ใช้ซึ่งสัมผัสกับสารเคมีทุกๆ วัน และ
ต่อผู้บริโภคผลิตผลทางการเกษตร ทั้งยังก่อให้เกิดดินเสื่อมสภาพ
สะสมความเป็นพิษในดิน แนวทางของเกษตรปลอดภัยจึงเป็นที่
สนใจ สามารถใช้ได้ทั้งปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยชีวภาพ ปัจจุบัน
เกษตรกรนิยมผลิตปุ๋ยใช้เองเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน
บ�ารุงพืช ก�าจัดเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ซึ่งปุ๋ยเหล่านี้เป็น
มิตรต่อสิ่งแวดล้อม ปุ๋ยน�้าหมักชีวภาพและปุ๋ยชีวภาพก็เป็นปุ๋ยที่
เกษตรกรใช้อย่างแพร่หลาย
“บางท่านอาจยังไม่เข้าใจว่าจริงๆแล้วปุ๋ยชีวภาพคืออะไร จึงเกิดความสับสนระหว่างปุ๋ยน�้าหมักชีวภาพและปุ๋ย
ชีวภาพ” เกษตรกรทุกคนคงรู้จักปุ๋ยน�้าหมักชีวภาพว่าเกิดจากการน�าเอาเศษพืชหรือสัตว์มาสับเป็นชิ้น ๆ เช่น เศษผัก ผลไม้
เศษปลา หอยเชอรี่ ตลอดจนขยะมูลฝอยตามบ้านเรือนมาหมักกับกากน�้าตาลซึ่งมีลักษณะข้นเหนียว สีน�้าตาลเข้ม โดยหลักการใน
ขั้นตอนการผลิตคือกากน�้าตาลที่มีความเข้มข้นสูงจะดึงเอาของเหลวที่อยู่ในผัก ผลไม้ เนื้อสัตว์ออกมาในขณะที่จุลินทรีย์ในธรรมชาติ
ที่ติดมากับเศษพืชหรือเนื้อสัตว์ก็จะใช้สารอาหารที่ได้จากของเหลวเหล่านี้ รวมทั้งอาหารหลักคือกากน�้าตาลซึ่งมีปริมาณของกลูโคส
ฟรุคโตส มอลโทรส และซูโครสเป็นต้น เหมาะส�าหรับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์และสามารถ
ท�าให้เกิดกระบวนการหมักขึ้นได้ ปัจจุบันอาจมีการ
ใส่หัวเชื้อจุลินทรีย์ลงไปท�าให้กระบวนการย่อยสลาย
เศษพืชและสัตว์เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว ดังนั้นถ้า
กล่าวให้เข้าใจง่ายปุ๋ยน�้าหมักชีวภาพจึงเป็นปุ๋ยที่ได้
จากกระบวนการย่อยสลายวัสดุอินทรีย์จากธรรมชาติ
ผลิตในลักษณะของเหลว ซึ่งได้มีการอธิบายราย
ละเอียดในพระราชบัญญัติปุ๋ย (ฉบับที่ 2) 2550 หาก
จะจัดกลุ่มว่าปุ๋ยน�้าหมักชีวภาพจัดเป็นปุ๋ยชนิดใด รู้ ภาพที่ 1 แผนภูมิแบ่งชนิดของปุ๋ย
หรือไม่ว่าปุ๋ยน�้าหมักชีวภาพจัดเป็นปุ๋ยอินทรีย์
(ภาพที่ 1) ซึ่งบางครั้งอาจมีชื่อเรียกอื่นๆ ที่เป็นที่รู้จัก วิธีการน�าปุ๋ยน�้าหมักชีวภาพไปใส่ในไร่นาหรือพืชสวนเช่น ไม้ผล
เช่น ปุ๋ยอินทรีย์น�้า ปุ๋ยน�้าหมักอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์ชนิด พืชผัก หรือไม้ดอกไม้ประดับ จะต้องมีการเจือจางปุ๋ยน�้าหมักชีวภาพซึ่งจะใช้ใน
เหลว หรือปุ๋ยน�้าหมัก เป็นต้น ถ้าต้องการขึ้นทะเบียน อัตราส่วน 1: 500 หรือ 1: 1,000 แล้วค่อยฉีดพ่นหรือรดลงดินเนื่องจากความ
ปุ๋ยชนิดนี้เพื่อขายเป็นการค้าก็จะมีเกณฑ์มาตรฐาน เข้มข้นของกากน�้าตาลที่สูงอาจท�าให้พืชตายได้จึงเป็นข้อควรระวังอย่างยิ่ง
ของกรมวิชาการเกษตร หรือของกรมพัฒนาที่ดิน จากรายงานการวิจัยในเรื่องปุ๋ยน�้าหมักชีวภาพพบว่าน�้าหมักชีวภาพมีปริมาณ
ก�าหนดไว้ ดังตารางที่ 1
ธาตุอาหารน้อยกว่าปุ๋ยเคมี และยิ่งเมื่อท�าการเจือจางแล้วก็ยิ่งท�าให้ปริมาณ
ธาตุอาหารน้อยลงไปอีกด้วย อย่างไรก็ตามพบว่าในปุ๋ยน�้าหมัก
มีกรดอะมิโน กรดอินทรีย์ ฮอร์โมนและวิตามินอยู่บ้าง ซึ่งอาจ
มีผลกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชได้
28 เกษตรอภิรมย์ มกราคม-เมษายน 2562