Page 26 -
P. 26

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


                ดินปัญหำ (Problem soils)                                3. ดินที่มีผลจากเกลือ (Salt affected


                 เป็นดินที่มีสมบัติอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลาย soils)  หมายถึง ดินที่มีปริมาณเกลือที่ละลายน�้าได้มาก
          อย่างไม่เหมาะสม หรือไม่ค่อยเหมาะสมที่จะน�ามาใช้ใน และ/หรือโซเดียมมากจนเป็นอันตรายต่อพืช แบ่งออก

          การเกษตรกรรม โดยเฉพาะในพืชเศรษฐกิจชนิดต่างๆ  เป็น 3 ประเภทได้แก่ ดินเค็ม ดินเค็ม-โซดิก และดินโซ

          ดินปัญหาที่ส�าคัญในประเทศไทย ได้แก่                    ดิก โดยหากท�าการจ�าแนกตามลักษณะการก�าเนิด และ

                                                                 สภาพภูมิประเทศสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ

                1. ดินตื้น (Shallow soils) หมายถึง ดินที่มี             - ดินเค็มชายทะเล เป็นดินเค็มที่เกิดจากอิทธิพล

         ความลึกของชั้นที่เป็นดินตื้นกว่า 50 เซนติเมตรจากผิวดิน   ของน�้าทะเล ซึ่งส่วนใหญ่พบตามแนวชายฝั่งทะเล
         ประกอบด้วย ดินตื้นที่มีชั้นลูกรัง ชั้นก้อนกรวด ชั้นเศษหิน      - ดินเค็มในแผ่นดิน (ดินเค็มบก) เป็นดินเค็มที่เกิด

         ชั้นหินปูนมาร์ล หรือชั้นหินพื้น เมื่อดินตื้นจะส่งผลให้เป็น  จากอิทธิพลของวัตถุต้นก�าเนิดที่มีองค์ประกอบของเกลือ

         อุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืช การไถพรวน ตลอดจน            ชนิดต่าง ๆ สูง ซึ่งส่วนใหญ่พบกระจายอยู่ในภาคตะวัน
         การดูดซับน�้า และแร่ธาตุอาหารของดิน ตัวอย่างของชุด      ออกเฉียงเหนือ

         ดินที่เป็นดินตื้นที่จัดแสดงไว้ ได้แก่ ชุดดินท่ายาง ชุดดิน  ส�าหรับตัวอย่างของชุดดินที่เป็นดินเค็มที่จัดแสดงไว้ ได้แก่

         ตาคลี ชุดดินโพนพิสัย  ซึ่งเป็นดินตื้นที่พบได้ทั่วไป     ชุดดินกุลาร้องไห้



                                                                        4. ดินทรายจัด (Sandy soils) หมายถึง ดินที่
                2. ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soils)            เนื้อดินเป็นทรายหรือทรายปนร่วนเกิดเป็นชั้นดินหนา

         หมายถึง ดินที่มีสารประกอบพวกเหล็กหรืออะลูมินัม          มากกว่า 100 เซนติเมตร ส่งผลให้ดินมีการอุ้มน�้าต�่า
         ซัลเฟต และกรดก�ามะถันมากจนเป็นอันตรายต่อพืช ส่ง         การดูดซับแร่ธาตุอาหารต�่า และมีความอุดมสมบูรณ์ต�่า

         ผลต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารพืช ลักษณะเด่น         ตัวอย่างของชุดดินที่เป็นดินทรายจัดที่จัดแสดงไว้ ได้แก่

         ที่พบในหน้าตัดดินเปรี้ยวจัดก็คือ แร่จาโรไซต์ ซึ่งเป็นจุด  ชุดดินน�้าพอง ดินทรายจัดพบได้ทั่วไป มีความสัมพันธ์
         ประสีเหลืองฟางข้าว โดยระดับความรุนแรงของปัญหา           กับวัตถุต้นก�าเนิดที่มีแร่ควอตซ์เป็นองค์ประกอบสูง ดิน

         นั้นสามารถใช้ระดับความลึกที่พบแร่จาโรไซต์ในการบอก       ทรายจัดในบางบริเวณพบชั้นดานอินทรีย์ในหน้าตัดดิน

         ระดับความรุนแรงได้ โดยถ้าพบแร่จาโรไซต์ในระดับตื้น       เรียกว่า ดินทรายที่มีชั้นดานอินทรีย์ (Sandy soils with
         จะมีปัญหารุนแรงกว่าการพบในระดับที่ลึกกว่า ตัวอย่าง      hardpan) หมายถึง ดินทรายที่มีชั้นดานอินทรีย์ภายใน

         ของชุดดินที่เป็นดินเปรี้ยวจัด ได้แก่ ชุดดินรังสิต ชุดดิน  ความลึก 100 เซนติเมตรจากผิวดิน ซึ่งชั้นดานที่ปรากฏใน

         องครักษ์ ชุดดินเสนา เป็นต้น ดินเปรี้ยวจัดพบมากใน        หน้าตัดดินมีความแน่นแข็ง  ส่งผลต่อการชอนไชของราก
         บริเวณที่ราบลุ่มภาคกลางตอนล่างของประเทศไทย ใน           พืช และท�าให้มีน�้าแช่ขังในฤดูฝนและขาดแคลนน�้าในฤดู

         บริเวณที่มีวัตถุต้นก�าเนิดดินเป็นตะกอนน�้ากร่อย
                                                                 แล้งตัวอย่างของชุดดินที่เป็นดินทรายที่มีชั้นดานอินทรีย์

                                                                 ที่จัดแสดง ได้แก่ ชุดดินบ้านทอน สามารถพบดินปัญหา

                                                                 ประเภทนี้ได้ในบริเวณหาดทรายเก่าตามแนวชายฝั่งทะเล
                                                                 ด้านตะวันออกของภาคใต้ พื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวัน

                                                                 ออก และบริเวณสันทรายของแม่น�้าโขง






        26   เกษตรอภิรมย์ มกราคม-เมษายน 2562
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31