Page 31 -
P. 31

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                                                                              เกษตร โฟกัส


            สาระ...ว่าด้วย                                                  โดย : อาจารย์อัญธิชา  พรมเมืองคุก
                                                                              ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร ก�าแพงแสน
                                                                                        มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                ธาตุอาหารที่จ�าเป็นส�าหรับพืช                                                agracp@ku.ac.th



                                                 (Essential nutrient elements) ตอนที่ 1


                ในการเฉลิมฉลองปีดินสากล เมื่อ
         ปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ได้ก�าหนด                                             ในปัจจุบันมีธาตุที่ผ่านการ
         theme งานไว้ว่า “Healthy soils for a                                    พิสูจน์ และจัดเป็นธาตุอาหารที่จ�าเป็น

         healthy life” จากภาพที่ปรากฏ แสดง                                       ต่อพืชชั้นสูงทั่วไป  ทั้งหมด 17 ธาตุ แบ่ง
         ให้เห็นว่า..เมื่ออาหารเริ่มต้นที่ดินแล้ว..ดัง                           ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
         นั้น... สุขภาพดินที่ดี จึงเป็นกุญแจส�าคัญ                                      1. มหธาตุ (Macronutrients)
         ในการผลิตอาหารปลอดภัยเพื่อตอบสนอง                                       คือ ธาตุซึ่งพืชต้องการในปริมาณมาก
         การบริโภคของมนุษย์และสัตว์รวมถึง                                        และมีความเข้มข้นในเนื้อเยื่อพืชแห้ง

         โภชนาการอื่นๆ                                                           มากกว่า 500 มก./กก. แบ่งย่อยออกเป็น
                                                                                 2 กลุ่ม ได้แก่
                สิ่งมีชีวิตมีกิจกรรมที่ส�าคัญ                                           - ธาตุอาหารหลัก (primary
         อย่างหนึ่ง คือการที่เซลล์สามารถรับเอา                                   nutrient elements) มี 6 ธาตุ คือ

         สารบางชนิดซึ่งเป็นอาหาร (nutrients)                                     คาร์บอน (C)  ไฮโดรเจน (H)  ออกซิเจน

                                               ที่มา: http://www.fao.org/world-soil-day/  (O)  ไนโตรเจน (N)  ฟอสฟอรัส (P)  และ
                                               activities/photo-contest/en/      โพแทสเซียม (K) ส�าหรับ 3 ธาตุหลังนี้
                                                                                 มักเรียกว่า ธาตุปุ๋ย เนื่องจากพืชต้องการ
                                                    พืชสีเขียวเป็นผู้ผลิตปฐมภูมิ
                                             ของระบบนิเวศซึ่งสามารถสร้างอาหาร    ปริมาณมาก แต่ได้รับจากดินไม่ค่อยพอ
                                             ได้เอง (autotrophic organism) จาก   เพียง จึงต้องใส่เพิ่มเติมในรูปของปุ๋ย

                                             การสังเคราะห์แสง โดยเปลี่ยนพลังงาน         - ธาตุอาหารรอง (secondary
                                             แสงมาเป็นพลังงานทางเคมีในรูปของ     nutrient elements) มี 3 ธาตุ คือ
                                             คาร์โบไฮเดรต  และยังสังเคราะห์อิน   แคลเซียม (Ca)  แมกนีเซียม (Mg) และ
                                             ทรียสารที่จ�าเป็นต่างๆ  ได้เองจาก   ก�ามะถัน (S) มีความขาดแคลนเฉพาะ
                                             สารตั้งต้น  คือ  คาร์บอนไดออกไซด์    บางพื้นที่ ไม่กว้างขวางเหมือนธาตุหลัก

                จากสิ่งแวดล้อมเข้าไปใช้ใน ออกซิเจน น�้า และแร่ธาตุต่างๆ จนได้    ส�าหรับแคลเซียม และแมกนีเซียม มัก
         การสังเคราะห์องค์ประกอบของเซลล์ สารอินทรีย์ชนิดต่างๆ เช่น โปรตีน  ลิปิด   เรียกรวมว่า ธาตุปูน
         และสารที่ให้พลังงานซึ่งท�าให้สิ่งมีชีวิต กรดนิวคลีอิก และวิตามิน ทั้งนี้ พืชสี     2. จุลธาตุ (Micronutrients)

         เจริญเติบโตได้ตามปกติ ตัวอย่างเช่น  เขียวก็ต้องอาศัยดินเป็นรากฐานการผลิต  คือ ธาตุที่พืชต้องการปริมาณน้อยและ
         คาร์โบไฮเดรต  ไขมัน  โปรตีน  แร่ธาตุ  อาหารและเป็นตัวกลางการเปลี่ยนแปลง  มีความเข้มข้นในเนื้อเยื่อพืชแห้งต�่ากว่า
         วิตามิน และน�้า จัดว่าเป็นอาหารของ  วัฏจักรธาตุอาหารโดยอาศัยผู้ย่อยสลาย   100 มก./กก. มีทั้งหมด 8 ธาตุ คือ เหล็ก
         มนุษย์และสัตว์  เมื่อได้รับอาหาร   (decomposer)  ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่า   (Fe)  ทองแดง (Cu)  แมงกานีส (Mn)
         (intake) ก็จะมีการย่อย (digestion)   อาหารของพืชสีเขียว คือ อนินทรียสาร   สังกะสี (Zn)  โมลิบดินัม (Mo)  โบรอน

         และการน�าไปใช้ในการเจริญเติบโต   ที่ประกอบด้วยธาตุต่างๆ ซึ่งได้มาจาก    (B)  คลอรีน (Cl) และนิกเกิล (Ni)  ซึ่งธาตุนี้
         (assimilation) ต่อไป ซึ่งการบอกเล่า อากาศ  น�้า และจากดิน ดังนั้น เราจึง  ได้ผ่านการพิสูจน์ว่าเป็นธาตุอาหารพืชเมื่อ
         ถึงความสัมพันธ์ระหว่างอาหารและ เรียกเรื่องราว ที่เกี่ยวกับอาหารของพืช   พ.ศ. 2539 เนื่องจากช่วยกระตุ้นเอนไซม์

         กระบวนการต่างๆ  เหล่านี้  เรียกว่า  สีเขียวนี้ว่า “ธาตุอาหารพืช” (mineral   ยูรีเอส ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ช่วยไฮดรอไลซ์ยู
         โภชนาการ (nutrition)                plant nutrition)                    เรียใชเซลล์พืช

                                                                                            มกราคม-เมษายน 2562 เกษตรอภิรมย์  31
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36