Page 29 -
P. 29

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


           ตารางที่ 1 เกณฑ์ก�าหนดมาตรฐานปุ๋ยอินทรีย์น�้าของกรมวิชาการเกษตรและกรมพัฒนาที่ดิน

                      กรมวิชาการเกษตร                               กรมพัฒนาที่ดิน

          1)  ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (Total Nitrogen)     1) ค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) ไม่เกิน 4.0
               ไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5 ของน�้าหนัก ฟอสเฟต      2) ค่าการน�าไฟฟ้าไม่เกิน 20 เดซิซีเมนต่อเมตร

               ทั้งหมด (Total P O ) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5    3) ปริมาณฮอร์โมน
                         2 5
               ของน�้าหนัก และโพแทชทั้งหมด (Total K O)          • ออกซิน ไม่ต�่ากว่า 0.10 มิลลิกรัมต่อลิตร
                                           2
               ไม่น้อยกว่าร้อยละ 0.5 ของน�้าหนัก หรือมีปริมาณ        • จิบเบอร์เรลลิน ไม่ต�่ากว่า 5.00 มิลลิกรัมต่อลิตร
               ธาตุอาหารหลักรวมกันไม่ต�่ากว่าร้อยละ 1.5 ของ        • ไซโตไคนิน ไม่ต�่ากว่า 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร
               น�้าหนัก                             4) ปริมาณสารสกัดอินทรีย์ ไม่ต�่ากว่า 1 เปอร์เซ็นต์ โดยน�้าหนัก

          2)  ปริมาณอินทรียวัตถุรับรอง (Organic Matter)    5) ปลอดภัยจากสารพิษและธาตุโลหะหนัก
               ไม่ต�่ากว่าร้อยละ 10 ของน�้าหนัก         • Arsenic (As) ไม่เกิน 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร
          3)  อัตราส่วนคาร์บอนต่อไนโตรเจน (C/N Ratio)         • Cadmium (Cd) ไม่เกิน 0.03 มิลลิกรัมต่อลิตร

               ไม่เกิน 20: 1                            • Chromium (Cr) ไม่เกิน 0.50 มิลลิกรัมต่อลิตร
          4)  ค่าการน�าไฟฟ้า (Electrical Conductivity)        • Copper (Cu) ไม่เกิน 1.00 มิลลิกรัมต่อลิตร
               ไม่เกิน 10 เดซิซีเมนส์ต่อเมตร            • Lead (Pb) ไม่เกิน 0.20 มิลลิกรัมต่อลิตร
          5)  ปริมาณโซเดียม (Na) ไม่เกินร้อยละ 1 โดยน�้าหนัก      • Mercury (Hg) ไม่เกิน 0.005 มิลลิกรัมต่อลิตร

          6)  ปริมาณสารเป็นพิษไม่เกินกว่าที่รัฐมนตรีประกาศ       • Zine (Zn) ไม่เกิน 5.00 มิลลิกรัมต่อลิตร
               ก�าหนด                               6) ผลวิเคราะห์จุลินทรีย์ที่เป็นสาเหตุโรคมนุษย์ สัตว์ และพืช

          ที่มา : กรมพัฒนาที่ดิน (2547)และกรมวิชาการเกษตร (2555)


                                                                        2) จุลินทรีย์ละลายธาตุอาหารพืช  สามารถ
                  ส่วนปุ๋ยชีวภาพตามพระราชบัญญัติปุ๋ย             สร้างกรดอินทรีย์มาละลายโพแทสเซียมออกจากแร่ดินเหนียว

           (ฉบับที่ 2) 2550 หมายถึง ปุ๋ยที่ได้จากการน�าจุลินทรีย์  บางชนิด หรือสามารถช่วยละลายฟอสฟอรัสจากหินฟอสเฟต
           ที่มีชีวิตที่สามารถสร้างธาตุอาหาร หรือช่วยให้ธาตุ     ซึ่งมีราคาถูก หาได้ง่าย ใช้ทดแทนปุ๋ยฟอสเฟตราคาแพงบาง
           อาหารที่เป็นประโยชน์กับพืช มาใช้ในการปรับปรุง         ชนิดอยู่ตามรากพืชโดยไม่ท�าอันตรายกับพืชมีลักษณะการ

           บ�ารุงดินทางชีวภาพ ทางกายภาพ หรือทางชีวเคมี และ       อยู่ร่วมกันของเชื้อรากับพืชแบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
           ให้หมายความรวมถึงหัวเชื้อจุลินทรีย์เราสามารถใช้       สามารถละลายฟอสเฟต นอกจากนี้ยังช่วยดูดธาตุอาหารพืช
           จุลินทรีย์ดินที่มีประสิทธิภาพในการเพิ่มผลผลิตพืชในรูป  ท�าให้พืชทนแล้ง และแข็งแรงทนต่อโรคได้
           แบบของผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพได้ 4 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ 1)
           จุลินทรีย์ตรึงไนโตรเจน 2) จุลินทรีย์ละลายธาตุอาหาร            3) จุลินทรีย์ย่อยสลายวัสดุอินทรีย์ ไนสามารถ

           พืช (จุลินทรีย์ละลายฟอสเฟต และจุลินทรีย์ละลาย         ย่อยสลายเศษพืชโดยใช้เอนไซม์ที่สร้างขึ้น เช่นการย่อยสลาย
           โพแทสเซียม)3) จุลินทรีย์ย่อยสลายวัสดุอินทรีย์  และ    เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส ลิกนิน แป้งในพืช หรือการย่อยสลาย
           4) พีจีพีอาร์                                         เศษเนื้อสัตว์ เช่น การย่อยโปรตีน ย่อยไขมัน เป็นต้น สามารถ

                                                                 ใช้ในการย่อยตอซังแล้วไถกลบเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของ
                                                                 ดินก่อนการปลูกในรอบถัดไป
                1) จุลินทรีย์ตรึงไนโตรเจน แบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ

         พวกที่ตรึงไนโตรเจนอิสระ สามารถตรึงไนโตรเจนได้อย่างอิสระใน
         ดิน แม้จะไม่มีพืชอาศัย และพวกที่ตรึงไนโตรเจนแบบพึ่งพาอาศัย      4)  พีจีพีอาร์  สามารถผลิตฮอร์โมนพืช  เช่น
         ซึ่งกันและกัน มีความสามารถพิเศษในการเข้าสร้างปมที่รากพืช  จิบเบอเรลลิน ไซโตไคนิน ออกซิน เป็นต้น ส่งเสริมหรือกระตุ้น
         ตระกูลถั่ว และตรึงไนโตรเจนจากอากาศ สามารถช่วยลดปริมาณ    การเจริญเติบโตของพืชได้ นอกจากนี้อาจสร้างสารปฏิชีวนะ

         การใช้ปุ๋ยเคมีไนโตรเจนได้                                ใช้ในการควบคุมโรคพืชได้ด้วย


                                                                                            มกราคม-เมษายน 2562 เกษตรอภิรมย์  29
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34