Page 38 -
P. 38
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การเตรียมคอก อาหารสุกร
ส�าหรับเกษตรกรรายย่อยที่ต้องการเลี้ยงหมูหลุมใน อาหารสุกรธรรมชาติที่เกษตรกรส่วนใหญ่นิยมใช้ คือ
โรงเรือนประมาณ 10 ตัว จะใช้พื้นที่ในการเลี้ยงขนาดความ หยวกกล้วย หรือ ผักตบชวา เป็นหลัก แต่ยังมีการใช้เศษพืช
กว้าง 3 เมตร x ความยาว 6 เมตร และท�าหลังคายกสูงเพื่อให้ ผักที่เป็นผักใบเขียว หรือยอดมันส�าปะหลังสับเป็นชิ้นเล็กๆ ใน
อากาศถ่ายเทได้สะดวก โดยท�าการขุดดินออกให้ลึกประมาณ อัตรา 100 ส่วน ผสมกับกากน�้าตาล ในอัตรา 4 ส่วน หมักทิ้ง
90 เซนติเมตร จากนั้นจึงท�าการปรับขอบรอบๆ แล้วผสมขี้เลื่อย ไว้ประมาณ 4 – 5 วัน จึงน�าไปเลี้ยงสุกร หรือจะน�าไปคลุกกับ
แกลบหยาบ หรือ ขุยมะพร้าว 100 ส่วน ผสมกับดินที่ขุดออก ร�า หรือปลายข้าวเพื่อเพิ่มสารอาหารให้กับสุกร นอกจากนี้ ยังมี
10 ส่วน ใส่เกลือลงไปประมาณ 0.5 ส่วน แล้วจึงคลุกเคล้าส่วน เกษตรกรบางราย ใช้สมุนไพรพื้นบ้าน เช่น ฟ้าทะลายโจร ขมิ้น
ผสมให้เข้ากัน จากนั้นจึงน�าไปใส่ลงในคอกเพื่อเป็นวัสดุรองพื้น ไพล ตากแห้ง จากนั้นจึงน�ามาบดเป็นผง แล้วจึงน�าไปใช้ผสม
ให้มีความหนาประมาณ 30 เซนติเมตร ใช้จุลินทรีย์ที่ได้จากการ อาหารในอัตราส่วน 1 : 10
หมักพืช หรือน�้าหมักชีวภาพ อัตราส่วน 4 ช้อนโต๊ะ ต่อน�้า 20 ส�าหรับน�้าดื่มของสุกร เกษตรกรสามารถใช้หัวเชื้อ
ลิตร ราดลงบนวัสดุรองพื้น จากนั้นท�าเหมือนเดิมอีก 2 ชั้น จน จุลินทรีย์ผัก หรือผลไม้ 2 ช้อนโต๊ะ ผสมกับน�้าสะอาด 20 ลิตร
เท่าระดับพื้นดิน ปล่อยทิ้งไว้ให้จุลินทรีย์ท�างานประมาณ 10 วัน ผสมให้สุกรดื่มเป็นประจ�าทุกวัน หรือน�าไปใช้รดพื้นคอก จะ
จึงสามารถน�าหมูเข้าอยู่ได้ และควรราดน�้าหมักชีวภาพลงบนพื้น ท�าให้คอกสุกรมีกลิ่นหอม สุกรจะขุดคุ้ยพื้นคอก ซึ่งเป็นการกลับ
คอกสัปดาห์ละครั้ง เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลาย หน้าดิน ท�าให้พื้นคอกร่วนโปร่ง และเพิ่มจ�านวนจุลินทรีย์ได้
สิ่งปฏิกูลต่างๆ ส�าหรับในฤดูฝน อาจจะมียุง หรือแมลงต่างๆ เข้า นอกจากนี้ หากพบสุกรมีพยาธิ สามารถใช้ใบขี้เหล็ก 5
มารบกวนสุกรในคอกได้ เกษตรกรสามารถน�าเอาตะไคร้หอมมา ก�ามือ ต�าละเอียด แล้วน�าไปผสมกะทิ 1 ลิตรเกลือ 3 ขีด หรือ
ทุบแช่น�้า แล้วฉีดพ่นให้ทั่วคอกในช่วงหัวค�่า จะช่วยไล่ยุงและ อาจจะใช้ใบน้อยหน่าต�าให้ละเอียดผสมน�้าเล็กน้อย แล้วจึงกรอง
แมลงได้เป็นอย่างดี เอาน�้าออก ก่อนน�าไปผสมกับกะทิ แล้วจึงน�าไปให้สุกรกิน
การท�าจุลินทรีย์ราขาวจากต้นไผ่
เป็นการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อช่วยให้มูลสุกรใน
คอกไม่มีกลิ่น สามารถท�าได้โดยการหุงข้าวให้สุก จากนั้นรอให้
เย็น แล้วจึงน�าข้าวดังกล่าวไปใส่ในกระบะ เกลี่ยให้ทั่วกระบะ
แล้วจึงน�ากระดาษขาวมาคลุมกระบะ แล้วมัดด้วยเชือกฟางให้
แน่น แล้วน�าไปวางไว้ใต้ต้นไผ่ หากท�าในฤดูร้อนให้ขุดหลุมให้
พอดีกับขนาดกระบะแล้วจึงน�าใบไผ่วางรองก้นหลุม แล้วใส่ใส่
กระบะลงไป น�าพลาสติกคลุมกระบะ แล้วจึงน�าใบไผ่มาคลุม ให้
ทั่วกระบะไม้ รดน�้าให้รอบๆ หมักทิ้งไว้ประมาณ 4 - 5 วัน ใน
ฤดูร้อน และ6 - 7 วัน ในฤดูฝน จะได้จุลินทรีย์ราขาวคลุมเต็ม
การป้องกันโรค ผิวหน้า จากนั้นจึงน�าจุลินทรีย์ราขาวที่ได้ มาผสมน�้าตาลทราย
ส�าหรับการเลี้ยงหมูหลุม ปัญหาที่เกษตรกรมักพบเจอ แดง หรือกากน�้าตาล แล้วน�าไปใส่โอ่งดิน ปิดฝาหมักต่ออีก 7 วัน
บ่อยเป็นประจ�า คือ โรคท้องเสีย สุกรจะมีอาการถ่ายเหลว อัน จากนั้นจึงน�าไปผสมน�้าในอัตราส่วน จุลินทรีย์ราขาว 2 ช้อนโต๊ะ
เนื่องมาจากอาหาร และน�้าที่มีจุลินทรีย์ที่ไม่สะอาดเพียงพอ ซึ่ง ต่อน�้า 10 ลิตร น�าไปใช้รดพื้นคอก หรือ
เกษตรกรสามารถรักษาอาการเหล่านี้ได้ด้วยการใช้ใบฝรั่งสด ใบ ตัวสุกร เพื่อลดกลิ่นมูลสุกร
ฟ้าทะลายโจรสด และเถาบอระเพ็ด น�าเอามาผสมในอาหารให้
สุกรกิน หรืออาจจะใช้ EM 1 ช้อนชา กรอกปาก หรือผสมน�้าให้ Service Info c 0 0 9
สุกรกิน
38 เกษตรอภิรมย์ มกราคม-เมษายน 2562