Page 37 -
P. 37

โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                                                                             เกษตร @ไลฟ์


                     โดย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เชิดพงษ์ ขีระจิตต์
                     ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร
                     คณะเกษตร ก�าแพงแสน
                     มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                     agrcpk@ku.ac.th
                     โดย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทราพร ภุมรินทร์
                     คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยีการเกตร
                     มหาวิทยาลัยศิลปากร
                     noopoommarin@hotmail.com



           หมูหลุม...เป็นรูปแบบหนึ่งในการ

         เลี้ยงสุกรแบบภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่สืบทอดกัน

         มาอย่างช้านาน เป็นการเลี้ยงสุกรตามแนวทาง
         เกษตรกรรมธรรมชาติ เพราะใช้ทรัพยากรที่มี

         อยู่ในท้องถิ่นเป็นอาหาร ซึ่งค่อนข้างแตกต่างกับ

         การเลี้ยงสุกรในยุคปัจจุบัน ซึ่งเป็นไปในลักษณะ

         เชิงการค้า ท�าให้ต้นทุนการผลิตสูง เนื่องจากต้อง
         ซื้ออาหารส�าเร็จ หรือวัตถุดิบมาผสมเป็นอาหาร

         ในราคาค่อนข้างสูง โดยเกษตรกรสามารถน�ามูล

         สุกรไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงดิน หรือใช้ท�า
         เป็นปุ๋ยหมัก โดยสุกรจ�านวน 10 ตัว จะให้มูลได้

         ประมาณ 6,000 กิโลกรัม ใน 4 เดือน สามารถน�า

         ไปใช้จ�าหน่ายได้กิโลกรัมละ 2 บาท เป็นการเพิ่ม

         รายได้ให้กับครัวเรือนอีกทั้งยังเป็นการช่วยรักษา
         สิ่งแวดล้อม ไม่ก่อให้เกิดน�้าเน่าเสีย ส่งกลิ่นเหม็น

         ไปยังพื้นที่ข้างเคียง จากการใช้น�้าหมักชีวภาพ

         เข้าไปช่วยดับกลิ่น นอกจากนั้น สุกรยังมีสุขภาพ
         จิตที่ดี เนื่องจากการเลี้ยงที่ไม่แออัด และพื้นคอก

         เป็นแกลบผสมดินที่มีความอ่อนนุ่ม ท�าให้สุกร

         สามารถเดินเล่น และคุ้ยเขี่ยได้ตามธรรมชาติ
         โดยพันธุ์สุกรที่นิยมเลี้ยง มี 3 สายพันธุ์ คือ

                1) พันธุ์ดูร็อกเจอร์ซี่ เหมาะส�าหรับใช้เป็น

         พ่อพันธุ์
                2) พันธุ์แลนด์เรซ เป็นพันธุ์ที่ให้ลูกดก

         และเลี้ยงลูกเก่ง

                3) พันธุ์ลาร์จไวท์ เหมาะส�าหรับใช้เป็น

         แม่พันธุ์






                                                                                            มกราคม-เมษายน 2562 เกษตรอภิรมย์  37
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42