Page 46 -
P. 46

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 44                        Thai J. For. 34 (1) : 39-47 (2015)



                Table 3  Average diameter at ground level (Do) and total height (H) of 4 tree species at 3 and
                         12 months after sowing at nursery.

                                    3 months after sowing              12 months after sowing
                      Species                               t-test                             t-test
                                  Pelleted   Non-pelleted             Pelleted  Non-pelleted
                                                     Diameter at ground level; Do (cm)
                A.lebbeck           0.20b       0.20b        ns        0.24b       0.24b        ns

                A.procera           0.18b       0.13a        **        0.19b        0.15a       **
                P.dasyrachis        0.17b       0.17b        ns        0.20b       0.21b        ns
                P.macrocarpus       0.10a       0.20b        ns        0.11a       0.20b        ns
                      F-test         *            *                     *            *
                                                           Total height; H (cm)

                A.lebbeck          7.98bc       7.10b        ns       13.28c       11.84b       ns
                A.procera           9.05c       8.90b        ns       13.78c       10.57b       **
                P.dasyrachis        7.38b       5.40a        ns        9.58b       10.54b       ns
                P.macrocarpus       1.63a       6.37a        ns        2.24a        7.27a       ns
                      F-test         **           *                     **           *

                Remarks:  Values in a column followed by the same letter are not significantly different at the
                           95% level of confidence by Duncan’s New Multiple Range Test; ** = significantly
                           different (p < 0.01);  * = significantly different (p < 0.05); ns = not significant


                        2.  การเติบโตทางด้านความสูง          และถ่อน และกลุ่มชนิดที่มีความสูงต�่า ได้แก่ นนทรี
                        การเติบโตทางด้านความสูงของกล้าไม้ที่เกิด  ป่า และหลังจากการเพาะ 12 เดือน นนทรีป่ามีความ
                จากเมล็ดที่พอกและไม่พอก หลังจากการเพาะ 3 และ   สูงที่ดีขึ้น ในขณะที่ประดู่ป่ามีการพัฒนาทางความสูง

                12 เดือน พบว่า ความสูงของกล้าไม้ที่เกิดจากเมล็ดที่พอก   น้อยลง (Table 3) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของ
                หลังจากการเพาะ 3 และ 12 เดือน มีความแตกต่างอย่าง  ความสูงระหว่างกล้าไม้ที่เกิดจากเมล็ดที่พอกกับเมล็ด
                มีนัยส�าคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) และความสูงของกล้า  ที่ไม่พอกรายชนิด พบว่า หลังจากการเพาะ 12 เดือน
                ไม้ที่เกิดจากเมล็ดที่ไม่พอก หลังจากการเพาะ 3 และ 12   ความสูงของกล้าถ่อน ที่เกิดจากเมล็ดที่พอกมีมากกว่า

                เดือน มีความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p<0.05)   เมล็ดที่ไม่พอก ในขณะที่ชนิดอื่นๆ มีค่าใกล้เคียงกัน ดัง
                ดังแสดงใน Table 3 เมื่อน�ามาวิเคราะห์ความแตกต่าง  นั้น การพอกเมล็ดจึงมีผลดีต่อการเติบโตทางด้านความ
                ระหว่างค่าเฉลี่ย พบว่า หลังจากการเพาะ 3 และ 12   สูงของชนิดไม้ถ่อน ส่วนพฤกษ์และนนทรีป่านั้น การ
                เดือน กล้าไม้ที่เกิดจากเมล็ดที่พอกกลุ่มชนิดที่มีความ  พอกเมล็ดในครั้งนี้ไม่มีผลหรือมีผลน้อยมาก เนื่องจาก

                สูงสูง ได้แก่ พฤกษ์ และถ่อน และกลุ่มชนิดที่มีความ  มีการเติบโตที่ใกล้เคียงกันกับเมล็ดที่ไม่พอก ในขณะ
                สูงต�่า ได้แก่ ประดู่ป่า ส่วนกล้าไม้ที่เกิดจากเมล็ดที่ไม่  เดียวกันการพอกเมล็ดประดู่ป่าในครั้งนี้มีผลให้ความสูง
                พอกนั้น พบว่า หลังจากการเพาะ 3 เดือน กล้าไม้ที่เกิด  แตกต่างจากกล้าที่เกิดจากเมล็ดที่ไม่พอกอย่างมาก
                จากเมล็ดที่พอกกลุ่มชนิดที่มีความสูงสูง ได้แก่ พฤกษ์
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51