Page 45 -
P. 45
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 34 (1) : 39-47 (2558) 43
์
จากการเพาะ 12 เดือน มีเพียงกล้าพฤกษ์ชนิดเดียว ที่ พอก ดังนั้น การพอกเมล็ดจึงมีผลดีต่อการรอดตายของ
แสดงให้เห็นความแตกต่างของการรอดตาย โดยกล้า ชนิดไม้ที่น�ามาทดลอง ได้แก่ พฤกษ์ ถ่อน และนนทรีป่า
ที่เกิดจากเมล็ดที่พอกมากกว่ากล้าที่เกิดจากเมล็ดที่ไม่
Table 2 Survival of 4 tree species at 3 and 12 months after sowing at nursery.
Survival (%)
Species 3 months after sowing t-test 12 months after sowing t-test
Pelleted Non-pelleted Pelleted Non-pelleted
A.lebbeck 100.00b 100.00 ns 100.00b 72.25a **
A.procera 98.50b 94.00 ** 96.50b 93.50b ns
P.dasyrachis 100.00b 95.00 ** 100.00b 94.50b ns
P.macrocarpus 25.00a 100.00 ns 25.00a 91.50b ns
F-test ** ns ** **
Remarks: Values in a column followed by the same letter are not significantly different at the
95% level of confidence by Duncan’s New Multiple Range Test; ** = significantly
different (p < 0.01); ns = not significant
การเติบโต พบว่า หลังจากการเพาะ 3 และ 12 เดือน กล้าไม้ที่เกิด
1. การเติบโตทางด้านเส้นผ่านศูนย์กลางที่ จากเมล็ดที่พอกกลุ่มชนิดที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
ระดับชิดดิน ที่ระดับชิดดินสูง ได้แก่ พฤกษ์ นนทรีป่า และ ประดู่ป่า
การเติบโตทางด้านเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับ มีเพียงถ่อนชนิดเดียวที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับ
ชิดดินของกล้าไม้ที่เกิดจากเมล็ดที่พอกและไม่พอก ชิดดินต�่า (Table 3) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของ
หลังจากการเพาะ 3 และ 12 เดือน พบว่า ขนาดเส้นผ่าน ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับชิดดินระหว่างกล้าไม้
ศูนย์กลางที่ระดับชิดดินของกล้าไม้ที่เกิดจากเมล็ดที่พอก ที่เกิดจากเมล็ดที่พอกกับเมล็ดที่ไม่พอกรายชนิด พบว่า
และไม่พอก หลังจากการเพาะ 3 และ 12 เดือน มีความ หลังจากการเพาะ 3 และ 12 เดือน ขนาดเส้นผ่าน
แตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (p<0.05) ดังแสดงใน ศูนย์กลางที่ระดับชิดดินของกล้าถ่อน ที่เกิดจากเมล็ด
Table 3 เมื่อน�ามาวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย ที่พอกมีมากกว่าเมล็ดที่ไม่พอก ในขณะที่ชนิดอื่นๆ มี
พบว่า หลังจากการเพาะ 3 และ 12 เดือน กล้าไม้ที่เกิด ค่าใกล้เคียงกัน ดังนั้น การพอกเมล็ดจึงมีผลดีต่อการ
จากเมล็ดที่พอกกลุ่มชนิดที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เติบโตทางด้านเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับชิดดินของ
ที่ระดับชิดดินสูง ได้แก่ พฤกษ์ ถ่อน และนนทรีป่า มี ชนิดไม้ถ่อน ส่วนอีก 3 ชนิด นั้น การพอกเมล็ดในครั้งนี้
เพียงประดู่ป่าชนิดเดียวที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ ไม่มีผลหรือมีผลน้อยมาก เนื่องจากมีการเติบโตที่ใกล้
ระดับชิดดินต�่า ส่วนกล้าไม้ที่เกิดจากเมล็ดที่ไม่พอกนั้น เคียงกันกับเมล็ดที่ไม่พอก