Page 44 -
P. 44
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
42 Thai J. For. 34 (1) : 39-47 (2015)
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ แตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) ดังแสดง
น�าข้อมูลการงอก การรอดตาย ขนาดเส้นผ่าน ใน Table 1 เมื่อน�ามาวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างค่า
ศูนย์กลางที่ระดับชิดดิน ความสูงทั้งหมด มวลชีวภาพ เฉลี่ย พบว่า เมล็ดที่พอกกลุ่มชนิดที่มีการงอกสูง ได้แก่
เหนือพื้นดิน และมวลชีวภาพใต้พื้นดิน มาวิเคราะห์ ถ่อน และพฤกษ์ กลุ่มชนิดที่มีการงอกต�่า คือ ประดู่ป่า
ความแตกต่างทางสถิติ โดยวิเคราะห์ความแปรปรวน ส่วนเมล็ดที่ไม่พอกกลุ่มชนิดที่มีการงอกสูง คือ นนทรี
(Analysis of Variance: ANOVA) จัดกลุ่มความแตก ป่า กลุ่มชนิดที่มีการงอกต�่า ได้แก่ พฤกษ์ และประดู่ป่า
ต่างของค่าเฉลี่ยโดยวิธี Duncan’s New Multiple Range
Test (DNMRT) เปรียบเทียบความแตกต่างของเมล็ดที่ (Table 1) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของการงอก
พอกกับเมล็ดที่ไม่พอกโดยวิธี t-test โดยใช้โปรแกรม ระหว่างเมล็ดที่พอกกับเมล็ดที่ไม่พอกรายชนิด พบว่า
ส�าเร็จรูปทางสถิติ การงอกของนนทรีป่า และประดู่ป่า ที่ไม่พอกเมล็ดมี
มากกว่าเมล็ดที่พอก ดังนั้นการพอกเมล็ดครั้งนี้จึงมีผล
ผลและวิจารณ์ ท�าให้การงอกของเมล็ดลดลง 2 ชนิด คือ นนทรีป่า และ
การงอก ประดู่ป่า ส่วนอีก 2 ชนิดที่เหลือนั้นเมื่อเปรียบเทียบทาง
จากการศึกษาพบว่า การงอกของเมล็ดที่พอก สถิติยังไม่พบความแตกต่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งพฤกษ์ที่
และไม่พอกทั้ง 4 ชนิด หลังจากการเพาะ 3 เดือน มีความ มีค่าการงอกใกล้เคียงกันมาก
Table 1 Germination of 4 tree species at 3 months after sowing at nursery.
Germination (%)
Species t-test
Pelleted Non-pelleted
A.lebbeck 21.00c 28.00a ns
A.procera 24.00c 48.00b ns
P.dasyrachis 7.00b 72.00c **
P.macrocarpus 1.00a 26.00a **
F-test ** **
Remarks: Values in a column followed by the same letter are not significantly different at the
95% level of confidence by Duncan’s New Multiple Range Test; ** = significantly
different (p < 0.01)
การรอดตาย ที่พอกกลุ่มชนิดที่มีการรอดตายสูง ได้แก่ พฤกษ์ ถ่อน
จากการศึกษาพบว่า การรอดตายของกล้าไม้ และนนทรีป่า มีเพียงประดู่ป่าชนิดเดียวที่มีการรอดตายต�่า
ที่เกิดจากเมล็ดที่พอก หลังจากการเพาะ 3 และ 12 เดือน ส่วนกล้าไม้ที่เกิดจากเมล็ดที่ไม่พอกนั้น พบว่า หลังจาก
และกล้าไม้ที่เกิดจากเมล็ดที่ไม่พอก หลังจากการเพาะ การเพาะ 12 เดือน กลุ่มชนิดที่มีการรอดตายสูง ได้แก่
12 เดือน มีความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญยิ่งทางสถิติ ถ่อน นนทรีป่า และประดู่ป่า มีเพียงถ่อนชนิดเดียวที่มี
(p<0.01) ส่วนการรอดตายของกล้าไม้ที่เกิดจากเมล็ดที่ การรอดตายต�่า (Table 2) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่าง
ไม่พอก หลังจากการเพาะ 3 เดือน นั้นมีความแตกต่าง ของการรอดตายระหว่างกล้าไม้ที่เกิดจากเมล็ดที่พอก
ทางสถิติอย่างไม่มีนัยส�าคัญ ดังแสดงใน Table 2 เมื่อน�า กับเมล็ดที่ไม่พอกรายชนิด พบว่า หลังจากการเพาะ 3
มาวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย พบว่า หลัง เดือน การรอดตายของกล้าถ่อน และนนทรีป่า ที่เกิด
จากการเพาะ 3 และ 12 เดือน กล้าไม้ที่เกิดจากเมล็ด จากเมล็ดที่พอกมีมากกว่าเมล็ดที่ไม่พอก แต่เมื่อหลัง