Page 39 -
P. 39

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 34 (1) : 29-38 (2558)                     37
                                                         ์



                 ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนใน       แนวโน้มที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงเช่นไรตามสภาพทางนิเวศ
                 ไม้ยืนต้นบริเวณป่าชุมชนเขาวง                ที่เปลี่ยนไปในกรณีที่ลดลง มีสาเหตุเนื่องจากมนุษย์ไม่
                        พื้นที่ป่าธรรมชาติบริเวณป่าชุมชนเขาวงมี  ว่าจะเป็นการบุกรุกพื้นที่ป่าหรือไฟป่า ก็ควรมีการปลูก
                 ปริมาณมวลชีวภาพของไม้ยืนต้นทั้งหมด 158,404.80 ตัน   เสริม เพิ่มมาตรการในการป้องกันไฟป่าและรณรงค์ให้
                 (น�้าหนักแห้ง) ปริมาณการกักเก็บคาร์บอน 74,450.25 ตัน  ชุมชนหันเข้ามาให้ความสนใจและตระหนักถึงความ

                 คาร์บอน ปริมาณการดูดซับก๊าซคาร์บอนได ออกไซด์   ส�าคัญของการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ในกรณีที่เพิ่มขึ้น
                 273,009.08 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ จ�าแนกเป็น พื้นที่ป่า  แสดงว่าป่าไม้ได้รับการจัดการจากชุมชนที่ดีอยู่แล้ว
                 เพื่อการอนุรักษ์มีปริมาณมวลชีวภาพ 84,182.06 ตัน   ชุมชนก็จะได้รับประโยชน์ทั้งทางตรงและทางอ้อมโดย
                 (น�้าหนักแห้ง) ปริมาณการกักเก็บคาร์บอน 39,565.57   เฉพาะด้านการพัฒนาคุณภาพทางสิ่งแวดล้อมโดยผ่าน
                 ตันคาร์บอน ปริมาณการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์   กระบวนการด้านการกักเก็บคาร์บอนของป่าไม้ 2) ควร
                 145,086.93 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ ส่วนพื้นที่ป่าเพื่อ  มีการศึกษามวลชีวภาพของไม้พื้นล่าง เศษซากพืช และ
                 การใช้ประโยชน์มีปริมาณมวลชีวภาพ 74,222.74 ตัน   หาปริมาณการกักเก็บคาร์บอนในพื้นที่เพื่อเปรียบเทียบ

                 (น�้าหนักแห้ง) ปริมาณการกักเก็บคาร์บอน 34,884.69   กับไม้ยืนต้น และ 3) การอนุรักษ์ป่าไม้ ควรมีการส่งเสริม
                 ตันคาร์บอน ปริมาณการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์   และป้องกันพื้นที่ป่า เพื่อเพิ่มศักยภาพในการกักเก็บ
                 127,922.15 ตันคาร์บอนไดออกไซด์ อย่างไรก็ตามความ  คาร์บอนให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ควรให้ชุมชนเข้ามา
                 แตกต่างของมวลชีวภาพระหว่างป่าอนุรักษ์และป่าเพื่อ  มีส่วนร่วมในการด�าเนินการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
                 การใช้ประโยชน์ ไม่มีนัยส�าคัญทางสถิติ (p>0.05)  เช่น ศูนย์ประสานงานป่าไม้ชัยภูมิ ควรเข้าไปสร้างความรู้
                                                             ความเข้าใจที่ถูกต้องให้แก่ชุมชนมีการฝึกอบรมและ
                 การประเมินมูลค่าคาร์บอนที่กักเก็บในไม้ยืนต้น  สร้างจิตส�านึกอย่างต่อเนื่อง
                 บริเวณป่าชุมชนเขาวง

                        พื้นที่ป่าเพื่อการอนุรักษ์มีมูลค่าการกักเก็บ         ค�านิยม
                 คาร์บอน 31,359,757 บาท ที่ระดับราคา 204 บาท/ตัน
                 คาร์บอนไดออกไซด์ และมีมูลค่าสูงถึง 153,792,150      ผู้วิจัยขอขอบคุณศูนย์ประสานงานป่าไม้ชัยภูมิ
                 บาท ที่ระดับราคา 1,000 บาท/ตันคาร์บอนไดออก ไซด์   กรมป่าไม้ ห้องปฏิบัติการจัดการภูมิปัญญาป่าไม้ คณะ
                 พื้นที่ป่าเพื่อการใช้ประโยชน์มีมูลค่าการกักเก็บ  วนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่สนับสนุนข้อมูล
                 คาร์บอน 27,649,681 บาท ที่ระดับราคา 204 บาท/ตัน  ป่าชุมชนเขาวง
                 คาร์บอนไดออกไซด์ และมีมูลค่าสูงถึง 135,597,477          REFERENCES
                 บาท ที่ระดับราคา 1,000  บาท/ตันคาร์บอนไดออก ไซด์
                 มูลค่าการกักเก็บคาร์บอนของป่าชุมชนเขาวงทั้งหมด   Bank of Thailand.  2013.  Rate of Exchange
                                                                     December 17, 2013.  Available Source:
                 59,009,439 บาท ที่ระดับราคา 204 บาท/ตันคาร์บอน      http://www.bot.or.th/Thai/Statistics/
                 ไดออกไซด์ และมีมูลค่าสูงถึง 289,389,627 บาท ที่ระดับ  FinancialMarkets/ExchangeRate/
                 ราคา 1,000 บาท/ตันคาร์บอนไดออก ไซด์ ที่ระดับอัตรา   layouts/ Application/ ExchangeRate/
                 ดอกเบี้ยร้อยละ 6 ต่อปี                              ExchangeRate.aspx, December 17,
                        การศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะคือ 1) ควรมี     2013.  (in Thai)
                 การศึกษาอย่างต่อเนื่องรายปี เพื่อทราบถึงความแปร  Chaiyaphum Forestry Center.  2011.  Khao
                 เปลี่ยนของปริมาณการกักเก็บคาร์บอนว่าในแต่ละปีมี     Wong Community Forest Project
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44