Page 36 -
P. 36

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 34                        Thai J. For. 34 (1) : 29-38 (2015)




                 และมีการเผาหลังการเก็บเกี่ยวพืชผลทางการเกษตร จึง  27.30±6.43, 0.23±0.01, 0.85±0.05 และ 7.95±1.78 ตัน/
                 ท�าให้สังคมพืชถูกรบกวนและท�าให้พรรณไม้บางส่วน  ไร่ ตามล�าดับ เมื่อคิดเป็นปริมาณมวลชีวภาพทั้งหมด
                 ตายไป อย่างไรก็ตามความแตกต่างของความหนาแน่น  เท่ากับ 158,404.80 ตัน โดยป่าอนุรักษ์มีปริมาณมวล
                 ระหว่างป่าอนุรักษ์และป่าใช้ประโยชน์ ไม่มีนัยส�าคัญ  ชีวภาพมากที่สุดเฉลี่ย 42.09±3.66 ตัน/ไร่ แบ่งเป็น
                 ทางสถิติ (p>0.05)                           ส่วนของล�าต้น กิ่ง ใบ และราก เท่ากับ 31.85±2.81,
                                                             0.22±0.01, 0.81±0.05 และ 9.21±0.80 ตัน/ไร่ ตามล�าดับ
                 ปริมาณมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนใน       เมื่อคิดเป็นปริมาณมวลชีวภาพทั้งหมดเท่ากับ 84,182.06
                 ไม้ยืนต้นบริเวณป่าชุมชนเขาวง                ตัน ส่วนป่าใช้ประโยชน์มีปริมาณมวลชีวภาพน้อยที่สุด

                        1. มวลชีวภาพ                         เฉลี่ย 30.57±1.45 ตัน/ไร่ แบ่งเป็น ส่วนของล�าต้น กิ่ง
                        การประเมินมวลชีวภาพของไม้ยืนต้นในการ  ใบ และราก เท่ากับ 22.76±1.10, 0.24±0.01, 0.89±0.04
                 ศึกษาครั้งนี้ จ�าแนกออกเป็น 2 ส่วน คือ มวลชีวภาพ  และ 6.69±0.32 ตัน/ไร่ ตามล�าดับ เมื่อคิดเป็นปริมาณ
                 เหนือพื้นดิน ประกอบด้วย ล�าต้น กิ่ง และใบ และมวล  มวลชีวภาพทั้งหมดเท่ากับ  74,222.74 ตัน (Table 2)
                 ชีวภาพใต้พื้นดิน ได้แก่ ส่วนของราก พบว่าพื้นที่ป่า  อย่างไรก็ตามความแตกต่างของมวลชีวภาพระหว่าง
                 ชุมชนเขาวงมีปริมาณมวลชีวภาพเฉลี่ย 36.33±8.15    ป่าอนุรักษ์และป่าเพื่อการใช้ประโยชน์ ไม่มีนัยส�าคัญ
                 ตัน/ไร่ แบ่งเป็น ส่วนของล�าต้น กิ่ง ใบ และราก เท่ากับ   ทางสถิติ (p>0.05)


                 Table 2  Total biomass of  Khao Wong community forest.

                                                         Biomass (t/rai)                    Total
                 Types of Forest Area                                                      Biomass
                  Management    (rai)
                                        Stems    Branches   Leaves     Roots      Total       (t)

                 Conserved Forest 2,000 31.85±2.81  0.22±0.01  0.81±0.05  9.21±0.80 42.09±3.66  84,182.06
                 Utilized Forest  2,428 22.76±1.10  0.24±0.01  0.89±0.04  6.69±0.32 30.57±1.45  74,222.74

                 Mean                  27.30±6.43  0.23±0.01  0.85±0.05  7.95±1.78 36.33±8.15

                 Total           4,428                                                     158,404.80
                        2. การกักเก็บคาร์บอน                 14.97±1.32, 0.10±0.01, 0.38±0.02 และ 4.33±0.38 ตัน

                        การกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพของไม้ยืนต้น   คาร์บอน/ไร่ ตามล�าดับ เมื่อคิดเป็นปริมาณการกักเก็บ
                 พบว่าพื้นที่ป่าชุมชนเขาวงมีปริมาณการกักเก็บคาร์บอน  คาร์บอนทั้งหมดเท่ากับ 39,565.57 ตันคาร์บอน ส่วน
                 เฉลี่ย 17.08±3.83 ตันคาร์บอน/ไร่ แบ่งเป็น ส่วนของ  ป่าเพื่อการใช้ประโยชน์มีปริมาณการกักเก็บคาร์บอน
                 ล�าต้น กิ่ง ใบ และราก เท่ากับ 12.83±3.02, 0.11±0.01,   น้อยที่สุดเฉลี่ย 14.37±0.69 ตันคาร์บอน/ไร่ แบ่งเป็น
                 0.40±0.03 และ 3.74±0.84 ตันคาร์บอน/ไร่ ตามล�าดับ   ส่วนของล�าต้น กิ่ง ใบ และราก เท่ากับ 10.70±0.52,
                 เมื่อคิดเป็นปริมาณการกักเก็บคาร์บอนทั้งหมดเท่ากับ   0.11±0.01, 0.42±0.02 และ 3.14±0.15 ตันคาร์บอน/

                 74,450.25 ตันคาร์บอน โดยป่าอนุรักษ์มีปริมาณการกัก  ไร่ ตามล�าดับ เมื่อคิดเป็นปริมาณการกักเก็บคาร์บอน
                 เก็บคาร์บอนมากที่สุดเฉลี่ย 19.78±1.72 ตันคาร์บอน/  ทั้งหมดเท่ากับ 34,884.69 ตันคาร์บอน (Table 3)
                 ไร่ แบ่งเป็น ส่วนของล�าต้น กิ่ง ใบ และราก เท่ากับ
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41