Page 35 -
P. 35

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 34 (1) : 29-38 (2558)                     33
                                                         ์



                          r  =  อัตราดอกเบี้ยเท่ากับ 4, 6, 8 และ   เพื่อการใช้ประโยชน์ เนื่องจากป่าอนุรักษ์ก่อนการจัดตั้ง
                                10                           เป็นป่าชุมชนเขาวง ชุมชนมีการเข้าไปใช้ประโยชน์ไม้
                          t  =  เวลา (ปี) มีค่าเท่ากับ 1, 2, 3…5  และท�าเป็นพื้นที่ทางการเกษตรโดยไม่มีการควบคุม
                                                             และมีการเผาหลังการเก็บเกี่ยวพืชผลทางการเกษตร จึง
                            ผลและวิจารณ์                     ท�าให้สังคมพืชถูกรบกวนและท�าให้พรรณไม้บางส่วน

                ชนิดและความหนาแน่นของพรรณไม้ยืนต้น           ตายไป เมื่อเปรียบเทียบจ�านวนชนิดพรรณไม้ยืนต้นที่
                                                             พบในการศึกษาครั้งนี้กับพื้นที่ป่าชนิดเดียวกันในบริเวณ
                บริเวณป่าชุมชนเขาวง                          อื่นๆ พบว่า  ป่าเต็งรังบริเวณป่าชุมชนเขาวง มีจ�านวน

                        1. จ�านวนชนิดพรรณไม้                 ชนิดพรรณไม้ยืนต้น 62 ชนิด ซึ่งมากกว่าป่าเต็งรังที่
                        จากการศึกษา พบว่า ป่าธรรมชาติบริเวณป่า  ศึกษาในบริเวณอื่นๆ ได้แก่  ป่าเต็งรังบริเวณป่าชุมชน
                ชุมชนเขาวงพบชนิดพรรณไม้ทั้งหมด 62 ชนิด โดยป่า  กุดรังจังหวัดมหาสารคาม ป่าเต็งรังบริเวณศูนย์ส่งเสริม
                อนุรักษ์พบพรรณไม้ 43 ชนิด ส่วนป่าเพื่อการใช้ประโยชน์  การเพาะช�ากล้าไม้ จังหวัดนครราชสีมา ป่าเต็งรังบริเวณ
                พบพรรณไม้ 49 ชนิด  พรรณไม้หลักที่พบทั่วไปในป่า  ป่าชุมชนดอนเจ้าปู่จังหวัดขอนแก่นและป่าเต็งรังบริเวณ
                ชุมชนเขาวง ได้แก่ เต็ง รัง มะค่าแต้ และประดู่ เป็นต้น   ลุ่มน�้าพรม จังหวัดชัยภูมิ มีพรรณไม้ยืนต้น เท่ากับ 55,
                สาเหตุที่ป่าอนุรักษ์มีจ�านวนชนิดพรรณไม้น้อยกว่าป่า  46, 32 และ 18 ชนิด ตามล�าดับ (Table 1)


                Table 1  Comparison of number of tree species in dry dipterocarp forest among the once found
                         at Khao Wong community forest and the once belong to other studied areas.

                                                                   Number of tree
                                   Forest Types                       species         Info Source
                 Dry dipterocarp forest at Khao Wong community forest,   62        Study
                 Chaiyaphum
                 Dry dipterocarp forest at Kud Rang community forest,   55         Sunthornhao et al.
                 Maha Sarakham                                                     (2013)
                 Dry dipterocarp forest at Nakhon Ratchasima nursery    46         Sirisawat (1998)
                 extension center
                 Dry dipterocarp forest at Don Chaopu community forest,   32       Sunthornhao et al.
                 Khon Kaen                                                         (2013)
                 Dry dipterocarp forest at Namprom, Chaiyaphum          18         Handechanon
                                                                                   (1990)
                        2. ความหนาแน่น                       ของพรรณไม้เท่ากับ 151 ต้น/ไร่ พรรณไม้ที่มีค่าความ
                        ความหนาแน่นของพรรณไม้ที่มีขนาดเส้น   หนาแน่นมากที่สุด คือ รัง ซึ่งมีค่าความหนาแน่น 29 ต้น/ไร่
                ผ่านศูนย์กลางเพียงอกตั้งแต่ 4.5 เซนติเมตรขึ้นไป ใน  รองลงมาคือ กุ๊ก แดง และประดู่ ซึ่งมีค่าความหนาแน่น

                บริเวณป่าชุมชนเขาวง มีค่าเท่ากับ 142 ต้น/ไร่ โดยป่า  15, 13 และ 13 ต้น/ไร่ ตามล�าดับ โดยป่าอนุรักษ์มีความ
                อนุรักษ์มีความหนาแน่นของพรรณไม้ เท่ากับ 133 ต้น/ไร่   หนาแน่นของพรรณไม้น้อยกว่าป่าเพื่อการใช้ประโยชน์
                พรรณไม้ที่มีค่าความหนาแน่นมากที่สุด คือ แดง ซึ่งมีค่า  สาเหตุที่ป่าอนุรักษ์มีความหนาแน่นน้อยกว่าป่าใช้
                ความหนาแน่น 27 ต้น/ไร่ รองลงมาคือ รัง สะเดา และ  ประโยชน์ เนื่องจากบริเวณป่าอนุรักษ์ก่อนการจัดตั้ง
                กุ๊ก ซึ่งมีค่าความหนาแน่น 19, 11 และ 10 ต้น/ไร่ ตาม  เป็นป่าชุมชนประชาชนมีการเข้าไปใช้ประโยชน์ไม้
                ล�าดับ ส่วนป่าเพื่อการใช้ประโยชน์มีความหนาแน่น  และท�าเป็นพื้นที่ทางการเกษตรโดยไม่มีการควบคุม
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40