Page 43 -
P. 43
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 34 (1) : 39-47 (2558) 41
์
ในการน�าไปปลูก แต่บางพื้นที่ก็ไม่เหมาะเนื่องจากมี ชนิดไม้ที่ท�าการศึกษาและการพอกเมล็ด
ความยากล�าบากในการขนย้าย (Artsamat, 2005) เมื่อ เมล็ดไม้ป่า 4 ชนิดที่ศึกษาอยู่ในวงศ์ Fabaceae
ปลูกแล้วกล้าไม้เกิดการงันและไม่สามารถตั้งตัวได้ ประกอบด้วย พฤกษ์ (Albizia lebbeck (L.) Benth.) และถ่อน
การเลือกใช้วิธีปลูกด้วยเมล็ดโดยตรงจึงถูกเลือกน�ามา (Albizia procera (Roxb.) Benth.) วงศ์ย่อย Mimosoideae
ช่วยแก้ปัญหา ประกอบกับกล้าไม้ที่เกิดจากเมล็ดใน นนทรีป่า (Peltophorum dasyrachis (Miq.) Kurz.)
พื้นที่โดยตรงจะมีความสามารถในการรอดชีวิต การ วงศ์ย่อย Caesalpinioideae และประดู่ป่า (Pterocarpus
เติบโตทางความโตและความสูง (Tunjai, 2006) ตลอด macrocarpus Kurz.) วงศ์ย่อย Papilionoideae น�าเมล็ด
จนการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ดี แต่อย่างไรก็ตาม ไม้ป่าทั้ง 4 ชนิด ชนิดละ 100 เมล็ด มาผ่านกระบวนการ
เมล็ดมีความสามารถในการงอกได้ในสภาพแวดล้อมที่ พอกด้วยวัสดุและสารเคมี ประกอบด้วย ดินเบนโทไนท์
ค่อนข้างจ�ากัด (Royal Forest Department, 2002) และ (Bentonite) โพลิเมอร์ละลายน�้า ฮอร์โมนพืช และสาร
ต้องมีสิ่งรบกวนในปริมาณน้อย ในช่วงระยะเวลาก่อน กันแมลง ในอัตราส่วน 10 : 7 : 2 : 1 ผสมเข้ากันโดย
การงอกเปลือกหุ้มเมล็ดจะอ่อนตัวลง ซึ่งเป็นช่วงที่เมล็ด ใช้เครื่องพอกเมล็ดพันธุ์ขนาดเล็ก เป็นเวลา 6 ชั่วโมง
ถูกท�าลายได้ง่าย (Vongkumjun, 2003) การพอกเมล็ด ในอัตราเร็วคงที่ตลอดการพอก จนกระทั่งได้เมล็ดที่มี
(seed pelleting) จึงเป็นเทคโนโลยีที่สามารถน�ามา ขนาดสม�่าเสมอกันในแต่ละชนิด
ประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มฮอร์โมน (Powell and Mathews,
1988) ธาตุอาหาร (Hanssan et al., 1990) รวมถึงช่วย การเก็บข้อมูล
ยืดอายุการเก็บรักษา ยกระดับความแข็งแรงของต้นกล้า วางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (Completely
(Thongpamnak et al., 2000) คุ้มครองเมล็ดขณะรอ Randomized Design: CRD) จ�านวน 4 ซ�้า (replications)
การงอกในแปลงปลูก และเพิ่มความสามารถในการ 4 ชนิดไม้ (tree species) 2 วิธี คือ เมล็ดที่พอก และเมล็ด
ตั้งตัวของกล้าไม้ที่งอกให้เติบโตได้ดี การศึกษาวิจัยนี้ ที่ไม่พอก ในแต่ละแปลง เพาะเมล็ดไม้ชนิดละ 100 เมล็ด
เป็นการทดลองและพัฒนาการพอกเมล็ดและศึกษา นับจ�านวนกล้าไม้ที่รอดตายทุกต้นในแต่ละแปลง วัด
ความเป็นไปได้ในการน�ามาใช้ปลูกฟื้นฟูระบบนิเวศ การเติบโตทางด้านเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับชิดดิน
ป่าไม้ โดยเฉพาะการฟื้นฟูป่าในบริเวณที่ผ่านการท�า (diameter at ground level; Do) ความสูงทั้งหมด (total
เหมืองแร่ ซึ่งต้องการกล้าไม้ที่สามารถขึ้นอยู่ในพื้นที่ height; H) และสุ่มตัวอย่างเพื่อชั่งน�้าหนักแห้งหรือมวล
และทนต่อปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เฉพาะได้ ชีวภาพเหนือพื้นดิน และใต้พื้นดิน ชนิดละ 4 ต้น เก็บ
ข้อมูลในเดือนที่ 3 และ 12 ภายหลังจากการเพาะเมล็ด
อุปกรณ์และวิธีการ การวิเคราะห์ข้อมูล
พื้นที่ศึกษา 1. การรอดตาย น�าข้อมูลการรอดตายของกล้าไม้
การศึกษาวิจัยนี้ด�าเนินการที่เรือนเพาะช�า แต่ละชนิด ไปค�านวณหาอัตราการรอดตาย
อาคารวนศาสตร์ 60 ปี คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัย 2. การเติบโต น�าข้อมูลขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
เกษตรศาสตร์ ระหว่างเดือนมีนาคม พ.ศ. 2553 ถึงเดือน ที่ระดับชิดดิน และความสูง ของกล้าไม้แต่ละชนิด ไป
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 โดยช่วงเวลาที่ท�าการทดสอบ ค�านวณหาค่าเฉลี่ยของแต่ละค่า
อุณหภูมิเฉลี่ยช่วงเวลากลางวันมีค่าเท่ากับ 36.7 องศา 3. มวลชีวภาพ น�าข้อมูลน�้าหนักแห้งที่ได้จาก
เซลเซียส และอุณหภูมิเฉลี่ยช่วงเวลากลางคืนมีค่าเท่ากับ การสุ่มวัดกล้าไม้ในแต่ละชนิด ทั้งส่วนเหนือพื้นดินและ
30.0 องศาเซลเซียส ใต้พื้นดิน ไปค�านวณหาค่าเฉลี่ยของแต่ละค่า