Page 48 -
P. 48

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 46                        Thai J. For. 34 (1) : 39-47 (2015)




                        2. มวลชีวภาพใต้พื้นดิน                      2. พฤกษ์ ถ่อน และนนทรีป่า เป็นชนิดที่เมื่อ
                          มวลชีวภาพใต้พื้นดินของกล้าไม้ที่เกิด  พอกเมล็ดแล้ว มีผลต่อการรอดตาย คือมีค่าการรอดตาย
                จากเมล็ดที่พอกและไม่พอก หลังจากการเพาะ 3 และ   มากกว่ากล้าไม้เกิดจากเมล็ดที่ไม่พอก ในขณะที่ประดู่
                12 เดือน พบว่า มวลชีวภาพใต้พื้นดินของกล้าไม้ที่เกิด  ป่าเป็นเพียงไม้ชนิดเดียวที่เมื่อพอกแล้วมีการรอดตายต�่า
                จากเมล็ดที่พอกและไม่พอก หลังจากการเพาะ 3 และ        3. ถ่อน เป็นชนิดที่มีการเติบโตทางด้านเส้น
                12 เดือน มีความแตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญยิ่งทางสถิติ   ผ่านศูนย์กลางที่ระดับชิดดิน และด้านความสูงของกล้าไม้
                (p<0.01) ดังแสดงใน Table 4 เมื่อน�ามาวิเคราะห์ความ  ที่เกิดจากเมล็ดที่พอกมากกว่ากล้าไม้ที่เกิดจากเมล็ดที่
                แตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ย พบว่า หลังจากการเพาะ 3   ไม่พอกอย่างเด่นชัด ส่วนชนิดอื่นๆ นั้นมีความแตกต่าง
                เดือน กล้าไม้ที่เกิดจากเมล็ดที่พอกกลุ่มชนิดที่มีมวล  เพียงเล็กน้อย
                ชีวภาพใต้พื้นดินสูง ได้แก่ พฤกษ์ และถ่อน กลุ่มชนิด     4. ถ่อนมีค่ามวลชีวภาพที่เกิดจากเมล็ดที่พอก
                ที่มีมวลชีวภาพใต้พื้นดินต�่า ได้แก่ นนทรีป่า และประดู่ป่า  มากกว่ามวลชีวภาพที่เกิดจากเมล็ดที่ไม่พอกทั้งเหนือ

                 และหลังจากการเพาะ 12 เดือน มีเพียงประดู่ป่าชนิดเดียว  พื้นดินและใต้พื้นดินอย่างชัดเจน ส่วนพฤกษ์และนนทรีป่า
                ที่อยู่ในกลุ่มชนิดที่มีมวลชีวภาพใต้พื้นดินต�่า ส่วนกล้าไม้  เป็นชนิดที่เมื่อพอกเมล็ดและเติบโตแล้วมีมวลชีวภาพ
                ที่เกิดจากเมล็ดที่ไม่พอกนั้น พบว่า หลังจากการเพาะ 3   เหนือพื้นดินและใต้พื้นดินใกล้เคียงกับมวลชีวภาพที่เกิด
                เดือน กลุ่มชนิดไม้ที่มีมวลชีวภาพใต้พื้นดินสูง ได้แก่   จากเมล็ดที่ไม่พอก ในขณะที่ประดู่ป่าเพียงชนิดเดียวที่
                พฤกษ์ ถ่อน และประดู่ป่า และหลังจากการเพาะ 12   เมื่อพอกเมล็ดแล้วส่งผลให้มวลชีวภาพเหนือพื้นดินและ
                เดือน กลุ่มที่มีมวลชีวภาพใต้พื้นดินต�่า มีเพียงประดู่ป่า  ใต้พื้นดินน้อยกว่าเมล็ดที่ไม่พอกมากที่สุด
                ชนิดเดียว (Table 4) เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของ     5. การทดสอบการพอกเมล็ดไม้ 4 ชนิด เพื่อ
                มวลชีวภาพใต้พื้นดินระหว่างกล้าไม้ที่เกิดจากเมล็ด  ใช้ในการฟื้นฟูป่า ในครั้งนี้ ช่วยยืนยันได้ถึงความเป็น
                ที่พอกกับเมล็ดที่ไม่พอกรายชนิด พบว่า หลังจากการ  ไปได้ในการน�าเทคนิคการพอกเมล็ดมาใช้กับไม้ป่าได้

                เพาะ 3 และ 12 เดือน มวลชีวภาพใต้พื้นดินของกล้าถ่อน   บางชนิด เนื่องจากมีผลทั้งในด้านบวกและด้านลบต่อ
                ที่เกิดจากเมล็ดที่พอกมีมากกว่าเมล็ดที่ไม่พอก และ  การงอก การรอดตาย และการเติบโต ของชนิดไม้ที่น�ามา
                มวลชีวภาพใต้พื้นดินของกล้าประดู่ป่าที่เกิดจากเมล็ด  ทดสอบ หากจะน�าเทคนิคนี้มาช่วยในงานฟื้นฟูป่าจะ
                ที่ไม่พอกมากกว่าเกิดจากเมล็ดที่พอก ในช่วง 3 เดือน  ต้องมีการทดสอบเพิ่มเติมหรือส่งเสริมเทคนิคการปลูก
                แรก ดังนั้น การพอกเมล็ดจึงมีผลดีต่อการสร้างมวล  ด้านอื่นๆ ต่อไป
                ชีวภาพใต้พื้นดินของชนิดไม้ถ่อน สอดคล้องกับการ
                เติบโตทางเส้นผ่านศูนย์กลางที่ระดับชิดดิน ความสูง         REFERENCES
                และมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน ดังกล่าวข้างต้น     Artsamat, N.  2005.  Comparison of Planting
                                                                    Techniques of Azadirachta indica
                                  สรุป                              A. Juss. var. siamensis Valeton and
                                                                    Afzelia xylocarpa (Kurz) Craib at
                        1. การงอกของเมล็ดที่ไม่พอกมีค่ามากกว่า      Saraburi Province.  M.S. Thesis,
                การงอกของเมล็ดที่พอก ดังนั้นการพอกเมล็ดในครั้งนี้   Kasetsart University. (in Thai)

                จึงมีแนวโน้มท�าให้การงอกลดลง แต่เมื่อพิจารณาเป็น  Department of Primary Industries and Mines.
                รายชนิด เมล็ดพฤกษ์เมื่อพอกแล้วมีค่าการงอกใกล้เคียง  2007.  Minerals Act Buddhist Era
                กับการงอกของเมล็ดที่ไม่พอกมากที่สุด ในขณะที่เมล็ด   (B.E.) 2510 (1967 A.D.).  2  ed., K.J.
                                                                                           nd
                ประดู่ป่ามีค่าการงอกน้อยที่สุดทั้งเมล็ดที่พอกและไม่พอก  Printing, Bangkok. (in Thai)
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53