Page 51 -
P. 51

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 34 (1) : 48-56 (2558)                     49
                                                         ์


                                                      บทคัดย่อ


                        การทดลองพันธุ์ไม้พื้นเมืองโตเร็วได้ด�าเนินการที่สถานีวิจัยและฝึกอบรมวนเกษตรตราด อ�าเภอเมือง จังหวัด
                 ตราด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการเติบโต ผลผลิตของพันธุ์ไม้พื้นเมืองโตเร็ว และคัดเลือกชนิดไม้พื้นเมือง
                 โตเร็วที่มีความเหมาะสมในการปลูกในสภาพพื้นที่ ใช้แผนการทดลองแบบ randomized complete block design มีพันธุ์ไม้
                 โตเร็ว 4 ชนิด (tree species) มี 4 ซ�้า (replication) ในแต่ละซ�้าเก็บข้อมูลพันธุ์ไม้ชนิดละ 36 ต้น ระยะปลูก 2 × 2 เมตร

                        ผลการศึกษา พบว่าการรอดตายและการเติบโตของไม้ทั้ง 4 ชนิดมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญยิ่งทาง
                 สถิติ (p < 0.01) สรุปได้ว่า กระทุ่ม ปออีเก้ง และ ขนุนป่า มีอัตราร้อยละการรอดตาย เท่ากับ 16.67, 63.20 และ 63.89
                 ตามล�าดับ มีเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกเฉลี่ยเท่ากับ 17.47, 9.80 และ 9.46 เซนติเมตร ตามล�าดับ มีความสูงเฉลี่ยเท่ากับ
                 16.23, 10.86 และ 9.67 เมตร ตามล�าดับ มีความเพิ่มพูนทางเส้นผ่านศูนย์กลางเพียงอกรายปีเฉลี่ยเท่ากับ  2.18, 1.23
                 และ 1.18 เซนติเมตรต่อปี ตามล�าดับ มีความเพิ่มพูนทางความสูงทั้งหมดรายปีเฉลี่ยเท่ากับ 2.03, 1.36 และ 1.21 เมตร
                 ต่อปี ตามล�าดับ ส่วนมวลชีวภาพทั้งหมด เท่ากับ 8.25, 6.75 และ 4.41 ตันต่อไร่ ตามล�าดับ และความเพิ่มพูนของมวล

                 ชีวภาพทั้งหมดรายปีเฉลี่ยเท่ากับ 1.03, 0.85 และ 0.55 ตันต่อไร่ต่อปี ตามล�าดับ และเมื่อน�าไม้พื้นเมืองโตเร็ว 3 ชนิด
                 เปรียบเทียบกับไม้กระถินเทพา พบว่า กระถินเทพามีค่าดังกล่าวสูงกว่าไม้พื้นเมืองโตเร็วทั้ง 3 ชนิดทั้งหมด การคัด
                 เลือกชนิดไม้ที่เหมาะสมในการศึกษาครั้งนี้ โดยพิจารณาจากลักษณะที่ท�าการศึกษาต่างๆโดยรวม สรุปว่าชนิดไม้ที่
                 เหมาะสมในการปลูกในสภาพพื้นที่คือ กระทุ่ม  เนื่องจากจัดอยู่ในกลุ่มที่มีการเติบโตและผลผลิตโดยรวมสูง แต่ต้อง
                 พัฒนาให้มีอัตราร้อยละการรอดตายสูงขึ้น


                 ค�าส�าคัญ: การทดลองพันธุ์ไม้ ไม้พื้นเมืองโตเร็ว จังหวัดตราด


                                  ค�าน�า                     และการตอบสนองความต้องการใช้ประโยชน์จากป่าไม้

                        การเพิ่มจ�านวนประชากรโลกจากอดีตจนถึง  ในรูปแบบต่างๆ
                 ปัจจุบัน มีผลกระทบต่อสภาพป่าธรรมชาติเป็นอย่าง       ชนิดไม้ที่มีความส�าคัญส�าหรับการปลูกสร้าง
                 มาก ทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศที่ก�าลัง  สวนป่าในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นไม้โตเร็ว (fast
                 พัฒนา นอกจากนี้การใช้ทรัพยากรป่าไม้ อย่างฟุ่มเฟือย   growing species) ชนิดไม้พื้นเมือง (native species) เช่น
                 และไม่คุ้มค่า รวมไปถึงการบุกรุกพื้นที่ป่าไม้เพื่อท�ากิน  สัก ยางนา พะยูง และชนิดไม้ต่างถิ่นที่น�าเข้ามาจากต่าง
                 หรือพื้นที่การเกษตร ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ส่งผลให้  ประเทศ ซึ่งปัจจุบันมีการน�าเข้ามาปลูกจ�านวนหลาย

                 พื้นที่ป่าไม้ในประเทศไทยลดน้อยลงทุกๆ ปี จากสถิติ  ชนิด เช่น สนประดิพัทธ์ กระถินณรงค์ กระถินเทพา
                 พื้นที่ป่าไม้ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2516 ถึง พ.ศ. 2551 พบว่า ปี   และยูคาลิปตัส (Royal Forest Deparment, 2002) การ
                 พ.ศ. 2516 ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าไม้ทั้งประเทศ 221,707   ปลูกสร้างสวนป่าจะประสบความส�าเร็จเพียงใดขึ้นอยู่กับ
                 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นร้อยละ 43.21 แต่ในปี พ.ศ. 2551   การศึกษาวิจัยในการปลูกและบ�ารุงสวนป่า การคัดเลือก
                 พื้นที่ป่าไม้ลดลงเหลือเพียง 171,585.65 ตารางกิโลเมตร   พื้นที่ การคัดเลือกชนิดไม้ที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่

                 คิดเป็นร้อยละ 33.44 (Royal Forest Deparment, 2011)   การปรับปรุงพันธุ์ และการปฏิบัติทางวนวัฒนวิทยาเป็น
                 เห็นได้ชัดเจนว่าป่าไม้มีเนื้อที่ลดน้อยลงมาก นอกจาก  ส�าคัญ ในการตัดสินใจว่าชนิดไม้ใดมีความเหมาะสมที่
                 ความพยายามในการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ที่ยังคงเหลือ  จะน�าไปใช้ในการปลูกสร้างสวนป่า นอกจากพิจารณา
                 อยู่ การปลูกสร้างสวนป่าจึงถูกน�ามาใช้ในการแก้ปัญหา   ในผลตอบแทนแล้ว ยังต้องพิจารณาความสามารถใน
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56