Page 92 -
P. 92

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 90                        Thai J. For. 33 (1) : 85-96 (2014)




                        จากการประเมินความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ      ข้อมูลระดับครัวเรือน พบว่า จ�านวนสมาชิกใน
                 การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ พบว่า ในภาพรวมผู้ให้  ครัวเรือนของกลุ่มตัวอย่าง เฉลี่ย 7 คน อยู่ในวัยแรงงาน
                 สัมภาษณ์มีความรู้ความเข้าใจค่อนข้างดี (คะแนนเฉลี่ย   4 คน มีที่ดินถือครองเฉลี่ย 4 แปลงต่อครัวเรือน เนื้อที่
                 0.86) โดยเฉพาะเรื่องการอนุรักษ์ ซึ่งส่วนใหญ่ทราบดีว่า   ประมาณ 16.1 ไร่ รายได้ครัวเรือนเฉลี่ยประมาณ 34,254
                 การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ หมายถึงการใช้ประโยชน์  บาทต่อปี รายจ่ายครัวเรือนเฉลี่ย 22,836 บาทต่อปี

                 ทรัพยากรธรรมชาติอย่างรู้คุณค่า ต้องใช้อย่างคุ้มค่า ให้  การใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้
                 เกิดประโยชน์มากที่สุด สูญเสียน้อยที่สุด และใช้ได้     จากการศึกษา พบว่า ผลผลิตจากป่าที่ถูกน�ามา
                 ยาวนานที่สุด และเห็นว่าป่าไม้นอกจากเป็นแหล่งผลิต  ใช้ประโยชน์โดยประชาชนในพื้นที่มีความหลากหลาย

                 ไม้เพื่อประโยชน์ใช้สอย สร้างบ้านเรือน แหล่งเชื้อเพลิง   ของชนิดผลผลิตและวัตถุประสงค์การใช้ประโยชน์ ซึ่ง
                 แหล่งเพิ่มพูนรายได้ของครัวเรือนแล้ว ยังช่วยป้องกัน  สามารถแบ่งออกได้เป็นผลผลิตส�าหรับใช้สอยทั่วไป
                 อุทกภัย และปลูกจิตส�านึกของประชาชนในท้องถิ่น  ประกอบด้วย ฟืน ไผ่ ดอกแขม (หญ้าไม้กวาด) และ
                 ให้เกิดความรักความหวงแหนป่า เป็นการรักษาป่าให้  กล้วยไม้ป่า ผลผลิตส�าหรับเป็นอาหาร ประกอบด้วย
                 คงอยู่ตลอดไป อย่างไรก็ตาม ยังมีประเด็นที่ผู้ตอบมี  หน่อไม้ พืชผักป่า ผลไม้ป่า สัตว์ป่า และเห็ด ผลผลิต

                 ความรู้ความเข้าใจน้อย เช่น เห็นว่าการเก็บหาของป่า  ส�าหรับท�าเป็นยารักษาโรคหรือพืชสมุนไพร
                 ไม่เป็นการท�าลายทรัพยากรป่าไม้ (คะแนนเฉลี่ย 0.12)
                 โดยส่วนใหญ่ ร้อยละ 40.5 ได้รับข้อมูลข่าวสารด้านการ  ชนิดผลผลิตจากป่าที่น�ามาใช้ประโยชน์

                 อนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้จากเพื่อนบ้าน รองลงมา ร้อยละ      Figure 2 แสดงสัดส่วนของกลุ่มตัวอย่างครัวเรือน
                 33.3 ได้จากผู้น�าชุมชนและเจ้าหน้าที่ป่าไม้  ที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าชนิดต่างๆ ซึ่งกว่าร้อยละ
                        ส�าหรับ ความรู้ความเข้าใจทางด้านกฎหมายป่าไม้   80 ของผู้ให้สัมภาษณ์ระบุว่าครัวเรือนของตนใช้ประโยชน์
                 แม้ว่าเกือบทุกราย (ร้อยละ 99.4) เคยได้รับการฝึกอบรม  ผลผลิตจากป่าดังกล่าวข้างต้นเกือบทุกประเภท ยกเว้น
                 หลักสูตรการเผยแผ่กฎหมายป่าไม้ โดยร้อยละ 84.5 ได้รับ  แมลงกินได้และพืชสมุนไพรที่มีสัดส่วนผู้ใช้เพียง

                 การอบรมจากห้องการเกษตรและป่าไม้อ�าเภอ แต่ส่วน  สามในสี่และหนึ่งในสามของครัวเรือนตัวอย่างทั้งหมด
                 ใหญ่ยังมีความรู้ความเข้าใจในระดับไม่มาก (คะแนนเฉลี่ย   ตามล�าดับ ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่ามี
                 0.28) ผู้ให้สัมภาษณ์เข้าใจดีว่าการประกาศพื้นที่ป่าเป็น  ความแตกต่างกันออกไปในแต่ละครัวเรือน สามารถ

                 พื้นที่ป่าอนุรักษ์แห่งชาติท�าให้ราษฎรมีโอกาสน้อยลง  แบ่งออกได้เป็น 3 ระดับ คือ น้อย (Low) ปานกลาง
                 ในการใช้ประโยชน์จากป่า หากทางราชการได้ประกาศ  (Moderate) และมาก (High) โดยเปรียบเทียบกับปริมาณ
                 ให้พื้นที่ป่าใดเป็นเขตห้ามล่าสัตว์ป่าแล้วบุคคลใดจะ  การใช้ผลผลิตจากป่าแต่ละชนิดของครัวเรือนตัวอย่าง
                 เข้าไปยึดถือครอบครองพื้นที่ดังกล่าวไม่ได้ แต่ยังเห็น  เรียงตามล�าดับความส�าคัญของผลผลิต ดังรายละเอียด
                 ว่าประชาชนสามารถแผ้วถางพื้นที่ป่าอนุรักษ์แห่งชาติ  ที่แสดงใน (Figure 2)

                 เพื่อท�าเป็นไร่เลื่อนลอยได้
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97