Page 89 -
P. 89
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 85-96 (2557) 87
์
รักษาโรค ยกเว้นบางประเภทที่เก็บเพื่อจ�าหน่าย ได้แก่ ดอกแขม และกล้วยไม้ป่า ร้อยละ 80 ของผู้ให้สัมภาษณ์ระบุว่า
ครัวเรือนของตนใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าดังกล่าวเกือบทุกประเภท ยกเว้น แมลงกินได้และพืชสมุนไพรที่มีสัดส่วน
ผู้ใช้น้อยกว่า ปริมาณผลผลิตจากป่าที่ใช้แตกต่างกันออกไปในแต่ละครัวเรือน ค่าเฉลี่ยของการใช้ไม้ฟืน 11 ลูกบาศก์
เมตรต่อปี ไผ่ 78 ล�าต่อปี ดอกแขม กล้วยไม้ป่า เห็ด หน่อไม้ พืชผักป่า ผลไม้ป่า สัตว์ป่า แมลงกินได้ และพืชสมุนไพร
เท่ากับ 100 56 47 74 51 39 89 22 และ 8 กิโลกรัมต่อปี ตามล�าดับ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้ประโยชน์ผลผลิต
จากป่าหลากหลายประเภทมากที่สุด ได้แก่ การศึกษา จ�านวนสมาชิก และจ�านวนแรงงานในครัวเรือน ส่วนอาชีพมีผล
ต่อการใช้ประโยชน์จากกล้วยไม้ป่า และความรู้ด้านการอนุรักษ์มีผลต่อการใช้ประโยชน์จากแมลงกินได้
จากการศึกษายังพบว่า การเก็บหาผลผลิตจากป่าของกลุ่มตัวอย่างไม่มีรูปแบบการจัดการที่ชัดเจน ส่วนใหญ่
ระบุว่าเป็นการเก็บหาตามภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่นที่สืบต่อกันมาจากรุ่นก่อนๆ มีผลผลิตจากป่าบางชนิดที่มีการ
ควบคุมการใช้โดยกฎระเบียบของชุมชน ได้แก่ ดอกแขม เห็ด และสัตว์ป่า ส่วนผลผลิตที่มีกฎหมายควบคุม คือ
กล้วยไม้ป่า ประเมินจากสถานการณ์ปัจจุบันที่มุมมองของประชาชนท้องถิ่นต่อการท�าไร่เลื่อนลอย การขยายพื้นที่
เพาะปลูกและมีส่วนท�าให้เกิดไฟป่า ทรัพยากรป่าไม้ในพื้นที่ศึกษามีแนวโน้มถูกท�าลายลงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งผู้วิจัย
มีความเห็นว่าเพื่อยกระดับความรู้ความเข้าใจในด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ของประชาชนท้องถิ่น หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องควรให้ความรู้เพิ่มเติมและท�าความเข้าใจกับประชาชนที่เข้าไปเก็บหาของป่า ไม่ให้มีการตัดไม้ท�าลายป่า
หรือเผาป่า ที่เป็นแหล่งผลิตที่จ�าเป็นของชุมชน และควรชี้แจงท�าความเข้าใจให้กับประชาชนได้ทราบว่าการท�าไร่
เลื่อนลอยโดยบุกรุกและแผ้วถางป่าเป็นการกระท�าที่ผิดกฎหมายป่าไม้
ค�าส�าคัญ: ผลผลิตจากป่า การใช้ประโยชน์ การจัดการ ประชาชนท้องถิ่น สปป.ลาว
ค�าน�า เพิ่มขึ้นของประชากรอย่างรวดเร็ว และการพัฒนาทาง
การพัฒนาของประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย เศรษฐกิจสังคมท�าให้เกิดความต้องการใช้ประโยชน์
ประชาชนลาว (สปป.ลาว) ในระยะที่ผ่านมาได้น�าเอา ทรัพยากรป่าไม้มากขึ้นด้วย (ภูเวียง, 2548) กลยุทธ์การ
ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้อย่างมากมาย การใช้ประโยชน์ ป่าไม้ของ สปป.ลาว ณ ปัจจุบันไปจนถึงปี พ.ศ. 2020 (กรม
เป็นไปอย่างไม่เหมาะสมและไม่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ป่าไม้, 2010) ได้วางแผนที่สอดคล้องกับแผนระดับ
กล่าวคือ การใช้มากเกินความจ�าเป็นและเกินก�าลังการ ชาติและกลยุทธ์ส�าหรับการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมและ
ผลิตของป่าไม้ ท�าให้ทรัพยากรธรรมชาติที่เคยอุดม การอนุรักษ์ป่าไม้ ให้แนวทางอย่างเป็นทางการส�าหรับ
สมบูรณ์มากได้ถูกท�าให้ลดลงและเสื่อมโทรมลงอย่าง การป่าไม้ ซึ่งสนับสนุนแนวคิดของการจัดการป่าโดยให้
รวดเร็ว พื้นที่ป่าของ สปป. ลาว มีแนวโน้มลดลงอย่าง ชุมชนเป็นฐาน นอกจากนี้ ยังก�าหนดออกเป็นเป้าหมาย
ต่อเนื่องนับตั้งแต่มีการรายงานการส�ารวจเมื่อประมาณ ที่ท้าทาย มุ่งเน้นในการเรียกคืนพื้นที่ป่าไม้ให้ถึงร้อยละ
65 ปีที่แล้ว (พ.ศ. 2490) ซึ่งมีพื้นที่ป่า ทั้งหมด17 ล้าน 70 ของพื้นที่ทั้งหมดในปี พ.ศ. 2020 (MAF, 2005)
เฮกตาร์ (ร้อยละ 71.6 ของพื้นที่ประเทศ) ต่อมาในปี จากการประเมินการใช้ประโยชน์ทรัพยากร
พ.ศ 2535 เนื้อที่ป่าลดลงเหลือ 11.2 ล้านเฮกตาร์ (ร้อยละ ป่าไม้ของประชาชนท้องถิ่นในชนบทของ สปป. ลาว
47) ในปี พ.ศ 2546 เหลือ 10 ล้านเฮกตาร์ (ร้อยละ 41.5) โดยกระทรวงกสิกรรม-ป่าไม้ และองค์การวิทยาศาสตร์
และในปี พ.ศ 2553 เหลือเพียง 9.5 ล้านเฮกตาร์ (ร้อยละ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม (2548) พบว่า กว่าร้อยละ
40.5) เห็นได้ว่าป่าไม้มีเนื้อที่ลดลงอย่างหน้าวิตก การ 80 ของประชากรอาศัยพึ่งพิงทรัพยากรป่าไม้ การพัฒนา