Page 88 -
P. 88

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 86                        Thai J. For. 33 (1) : 85-96 (2014)



                 products except edible insect and medicinal plant which the user groups were lessen.  Quantities
                 of forest products’ usage were diverse among the households’ samples. On average about 11
                  3
                 m  of fuel wood and 78 bamboo culms were used annually by each household. Other products
                 namely broom grass, wild orchid, mushroom, bamboo shoot, wild vegetable, wild fruit, wild

                 animal, edible insect and medicinal plant were used by each household at 100, 56, 47, 74, 51, 39,
                 89, 22 and 8 kg/year, respectively.  The socio-economic factors of the respondents influencing
                 their forest dependency (utilization) were variable. Education level of the respondents, number of
                 household’s member and labor force influenced a wider range of forest products they collected.
                 Occupation of the respondents influenced the usage of wild orchid, whereas knowledge on forest
                 conservation influenced usage of the edible insect.
                        Though the respondents perceived that utilization some forest products such as broom
                 grass, mushroom and wild animal was implied in the communities’ rules. Collecting of wild
                 orchid was strictly prohibited by the forest law. However, certain management for forest products’

                 utilization was unclear.  Local people mostly practiced accordingly by the indigenous knowledge.
                 Seemingly, under their perception on the impacts of shifting cultivation, expansion of cultivate
                 land and involving in forest fire ignition the forest tends to be deteriorated continuously. Thus, they
                 should be educated on proper knowledge and understanding on forest resource conservation.  As
                 for the knowledge and understanding about the forest law, they should be informed and clarified
                 about trespass and claim forest area for shifting cultivation as well.

                 Keywords: forest product, utilization, management, local people, Lao PDR



                                                      บทคัดย่อ


                        การวิจัยการใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้ของประชาชนท้องถิ่นที่อาศัยอยู่ในป่าอนุรักษ์แห่งชาติน�้าแอด-ภูเลย
                 จังหวัดหัวพัน ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยการสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือนจ�านวน 168 ราย

                 ด้วยแบบสัมภาษณ์ ประมวลผลข้อมูลด้วยโปรแกรมส�าเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ ค่าสถิติที่ใช้ ประกอบด้วย ความถี่
                 ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และไคสแควร์ ก�าหนดค่านัยส�าคัญทางสถิติที่ 0.05
                        ผลการวิจัยกลุ่มตัวอย่างซึ่งมีลักษณะทางเศรษฐกิจสังคมที่หลากหลาย อายุเฉลี่ย 40 ปี กว่าครึ่งจบการศึกษา
                 ต�่ากว่าระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย บางคนไม่ได้เรียนหนังสือ เกือบทั้งหมด (ร้อยละ 99.4) เคยเข้าอบรมเกี่ยวกับ
                 การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ และมีความรู้ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ค่อนข้างมาก (คะแนนเฉลี่ย 0.86) แต่ในด้าน

                 กฎหมายป่าไม้มีน้อย (คะแนนเฉลี่ย 0.28) สมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 7 คน เป็นวัยแรงงาน 4 คน มีที่ดินเฉลี่ย 16 ไร่
                 อาชีพหลักท�าเกษตร รายได้ครัวเรือนเฉลี่ย 34,254 บาทต่อปี รายจ่ายครัวเรือนเฉลี่ย 22,836 บาทต่อปี พบว่า ผู้ให้
                 สัมภาษณ์ทั้งหมดตอบว่าครัวเรือนของตนเก็บหาผลผลิตจากป่าเพื่อใช้ประโยชน์ในการด�ารงชีพ โดยส่วนใหญ่เก็บ

                 เพื่อใช้อุปโภคบริโภคในครัวเรือนเป็นหลัก ได้แก่ ไม้ฟืนส�าหรับใช้หุงต้มและให้ความอบอุ่น ไผ่ส�าหรับประโยชน์
                 ทั่วไป หน่อไม้ พืชผักป่า ผลไม้ป่า สัตว์ป่า แมลงกินได้ และเห็ด ส�าหรับเป็นอาหาร และพืชสมุนไพรส�าหรับท�ายา
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93