Page 83 -
P. 83
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 76-84 (2557) 81
์
และช�ามะเลียง ผลไม้ป่าที่เก็บหามามากที่สุด คือ มะกอก 7. พืชกินหัว พบว่า ราษฎรเก็บหาพืชกินหัว
จ�านวน 79.00 กิโลกรัม/ปี รองลงมา คือ มะกัก จ�านวน ร้อยละ 5.56 โดยบริโภคภายในครัวเรือน มีการเก็บหา
38.00 กิโลกรัม/ปี มะขามป้อม จ�านวน 10.00 กิโลกรัม/ปี ช่วงเดือน พฤศจิกายน – พฤษภาคม ชนิดของพืชกินหัว
หนามเหยี่ยว จ�านวน 3.70 กิโลกรัม/ปี และช�ามะเลียง ที่เก็บหา คือ มันนก ปริมาณมันนกทั้งหมดเท่ากับ 4.00
ป่า จ�านวน 0.20 กิโลกรัม/ปี ปริมาณผลไม้ป่าที่เก็บ กิโลกรัม/ปี มูลค่าทั้งหมดเท่ากับ 400.00 บาท/ปี มูลค่า
หาทั้งหมดเท่ากับ 130.90 กิโลกรัม/ปี มีมูลค่าทั้งหมด สุทธิเท่ากับ 200.00 บาท/ปี และมูลค่าสุทธิต่อครัวเรือน
เท่ากับ 2,988.50 บาท/ปี มูลค่าสุทธิเท่ากับ 1,832.20 เฉลี่ย 5.56 บาท/ปี
บาท/ปี และมูลค่าสุทธิต่อครัวเรือนเฉลี่ย 50.20 บาท/ปี 8. แมลงและผลผลิตจากแมลง พบว่า ราษฎร
5. พืชผักป่า พบว่า ราษฎรเก็บหาพืชผักป่า เก็บหาแมลงและผลผลิตจากแมลงร้อยละ 11.11 โดย
ร้อยละ 83.33 โดยบริโภคภายในครัวเรือนและจ�าหน่าย บริโภคภายในครัวเรือนและจ�าหน่ายเป็นรายได้เสริม
เป็นรายได้เสริม มีการเก็บหาตลอดทั้งปี ชนิดของพืช เก็บหาตลอดทั้งปี มี 2 ชนิด คือ น�้าผึ้ง และจักจั่น แมลง
ผักป่าที่เก็บหามี 8 ชนิด คือ ขี้เหล็ก ย่านาง สะเดา และผลผลิตจากแมลงที่เก็บมากที่สุดคือ น�้าผึ้ง มีปริมาณ
ยอดมะกอก ดอกสลิด ผักเสี้ยน ผักเปราะ และผักอีนูน 118 ขวด/ปี และจักจั่น มีปริมาณ 0.30 กิโลกรัม/ปี มูลค่า
พืชผักป่าที่เก็บมากที่สุดคือ ขี้เหล็ก มีปริมาณ 298.50 ทั้งหมดเท่ากับ 29,530.00 บาท/ปี มูลค่าสุทธิเท่ากับ
กิโลกรัม/ปี รองลงมา คือ ย่านาง มีปริมาณ 215.80 28,254.40 บาท/ปี และมูลค่าสุทธิต่อครัวเรือนเฉลี่ย
กิโลกรัม/ปี สะเดา มีปริมาณ 107.00 กิโลกรัม/ปี ยอด 784.84 บาท/ปี
มะกอก มีปริมาณ 41.7 กิโลกรัม/ปี ดอกสลิด มีปริมาณ 9. สมุนไพร พบว่า ราษฎรเก็บหาสมุนไพร
24.10 กิโลกรัม/ปี ผักเสี้ยน มีปริมาณ 9.00 กิโลกรัม/ปี ร้อยละ 50.00 โดยบริโภคภายในครัวเรือนและจ�าหน่าย
ผักเปราะ มีปริมาณ 8.00 กิโลกรัม/ปี และผักอีนูน มี เป็นรายได้เสริม มีการเก็บหาตลอดทั้งปี ชนิดของ
ปริมาณ 5.50 กิโลกรัม/ปี ปริมาณพืชผักป่าที่เก็บหา สมุนไพรที่เก็บมี 3 ชนิด คือ หนอนตายยาก โทงเทง
ทั้งหมดเท่ากับ 709.90 กิโลกรัม/ปี มูลค่าทั้งหมดเท่ากับ และต้นงวงช้าง สมุนไพรที่เก็บมากที่สุดคือ หนอนตายยาก
33,315.00 บาท/ปี มูลค่าสุทธิเท่ากับ 26,000.40 บาท/ปี มีปริมาณ 259.00 กิโลกรัม/ปี รองลงมาคือ โทงเทง มี
และมูลค่าสุทธิต่อครัวเรือนเฉลี่ย 722.23 บาท/ปี ปริมาณ 80.00 กิโลกรัม/ปี และต้นงวงช้าง มีปริมาณ
6. เห็ด พบว่า ราษฎรเก็บหาเห็ดร้อยละ 88.90 76.00 กิโลกรัม/ปี ปริมาณการเก็บหาสมุนไพรที่เก็บ
โดยบริโภคภายในครัวเรือนและจ�าหน่ายเป็นรายได้ หาทั้งหมดเท่ากับ 415.00 กิโลกรัม/ปี มีมูลค่าทั้งหมด
เสริม มีการเก็บหาช่วงเดือน สิงหาคม – ตุลาคม ชนิดของ เท่ากับ 33,700.00 บาท/ปี มูลค่าสุทธิเท่ากับ 30,525.00
เห็ดที่เก็บหามี 3 ชนิด คือ เห็ดโคน เห็ดรวก และเห็ดเข็ม บาท/ปี และมูลค่าสุทธิต่อครัวเรือนเฉลี่ย 847.92 บาท/ปี
หรือเห็ดโคนเล็ก เห็ดที่เก็บมากที่สุดคือ เห็ดโคน ปริมาณ มูลค่าการใช้ประโยชน์ของป่าทั้งหมดต่อปี
703.10 กิโลกรัม/ปีรองลงมาคือ เห็ดรวก ปริมาณ 28.10 เท่ากับ 601,163.50 บาท โดยแบ่งเป็นมูลค่าที่ใช้ในครัวเรือน
กิโลกรัม/ปี และ เห็ดเข็มหรือเห็ดโคนเล็ก ปริมาณ 10.00 450,155.00 บาท/ปี และมูลค่าน�าไปจ�าหน่าย 151,008.50
กิโลกรัม/ปี ปริมาณการเก็บหาเห็ดที่เก็บหาทั้งหมดเท่ากับ บาท/ปี โดยมีมูลค่าสุทธิต่อปี เท่ากับ 395,981.90 บาท
741.20 กิโลกรัม/ปี มีมูลค่าทั้งหมดเท่ากับ 285,050.00 และมูลค่าสุทธิเฉลี่ยต่อครัวเรือน 10,971.71 บาท/ปี
บาท/ปี มูลค่าสุทธิเท่ากับ 237,040.20 บาท/ปี และมูลค่า (Table 1)
สุทธิต่อครัวเรือนเฉลี่ย 6,584.45 บาท/ปี