Page 82 -
P. 82

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 80                        Thai J. For. 33 (1) : 76-84 (2014)




                 ในบทบาทของคณะกรรมการป่าชุมชน สูงสุด 10 คะแนน        1. ไม้ฟืน พบว่า ราษฎรมีการเก็บหาไม้ฟืน
                 ต�่าสุด 4 คะแนน และเฉลี่ย 7.56 คะแนน และระดับความ  เพียงร้อยละ 22.22 ซึ่งจะท�าการเก็บหาตลอดปี โดยเก็บ
                 น่าเชื่อถือในบทบาทของคณะกรรมการป่าชุมชนของ  ไว้ใช้ในครัวเรือนทั้งหมด ชนิดไม้ที่ใช้ท�าฟืนได้แก่ ไม้
                 ราษฎรโดยใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนเป็นตัวแบ่ง ถ้ามี  มะขามเทศ ไม้สะเดา ไม้สะแก และอื่นๆ ไม้ฟืนที่เก็บหา
                 คะแนน ต�่า และ สูง กว่าค่าเฉลี่ย ค่าความเชื่อถือว่ามี  ได้มากที่สุด ไม่ได้จ�าแนกชนิดเป็นปริมาณ 9.60 ลูกบาศก์
                 ความเชื่อถือในบทบาทของคณะกรรมการป่าชุมชน ต�่า   เมตร รองลงมาคือ ไม้มะขามเทศ 5.04 ลูกบาศก์เมตร

                 และ สูง ตามล�าดับ จากการศึกษาพบว่าราษฎรมีระดับ  ไม้สะเดา 2.60 ลูกบาศก์เมตร ไม้สะแก 1.14 ลูกบาศก์
                 ความเชื่อถือในบทบาทของคณะกรรมการป่าชุมชน    เมตร ไม้มะกล�่า 0.30 ลูกบาศก์เมตร และไม้กระถิน
                 สูง และ ต�่า คิดเป็นร้อยละ 58.33 และ 41.67 ตามล�าดับ  0.12 ลูกบาศก์เมตร ปริมาณการเก็บหาทั้งหมดเท่ากับ

                 ความรู้เกี่ยวกับป่าชุมชน                    18.80 ลูกบาศก์เมตร/ปี ราคาลูกบาศก์เมตรละ 900 บาท
                        ความรู้เกี่ยวกับป่าชุมชน จากการศึกษาพบว่า   มีมูลค่าทั้งหมดเท่ากับ 16,920.00 บาท/ปี มูลค่าสุทธิ
                                                             เท่ากับ 5,629.00 บาท และมูลค่าสุทธิต่อครัวเรือนเฉลี่ย
                 ค�าถามจ�านวน 10 ข้อ ที่ราษฎรตอบถูกทั้งหมด คือ ข้อ 1
                 ป่าชุมชน คือ ป่าไม้ที่ประชาชนรักษาไว้เพื่อประโยชน์  เท่ากับ 156.36 บาท/ปี

                                                                     2. ไม้ไผ่ พบว่า ราษฎรเก็บหาไม้ไผ่ร้อยละ
                 ของชุมชน ข้อ 2 การฟื้นฟูดูแลรักษาป่าชุมชนเป็นการ
                 อนุรักษ์ ดิน น�้า และสัตว์ป่าด้วย ข้อ 5 การดูแลรักษาป่า  33.33 โดยใช้ภายในครัวเรือนทั้งหมด มีการเก็บหาตลอด
                                                             ปี ไม้ไผ่ที่เก็บหามี 2 ชนิด คือ ไผ่รวก และไผ่สีสุก ชนิด
                 ชุมชนที่ได้ผลดี คือ การให้ประชาชนในท้องถิ่นเข้ามา

                 มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการป่าด้วย ข้อ 7 ราษฎร  ไม้ไผ่ที่เก็บได้มากที่สุดคือไผ่สีสุก มีจ�านวน 236.00
                                                             ล�า/ปี และไผ่รวก มีจ�านวน 37 ล�า/ปี ปริมาณการเก็บ
                 ไม่สามารถน�าของป่าที่ไม่ได้รับอนุญาต เช่น น�้าผึ้ง ออก
                 จากป่าชุมชนก่อนได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ    หาไม้ไผ่มีทั้งหมดเท่ากับ 273.00 ล�า/ปี มีมูลค่าทั้งหมด
                                                             เท่ากับ 5,090.00 บาท/ปี มูลค่าสุทธิเท่ากับ 3,476.90
                 ป่าชุมชน และข้อ 9 ห้ามตัดไม้ และแปรรูปไม้ทุกชนิด
                 ในเขตป่าชุมชนก่อนได้รับอนุญาตจากคณะกรรมการ  บาท/ปี และมูลค่าสุทธิต่อครัวเรือนเฉลี่ย 68.80 บาท/ปี
                                                                     3. หน่อไม้ พบว่า ราษฎรมีการเก็บหาหน่อไม้

                 ป่าชุมชน และค�าถามที่ราษฎรตอบถูกน้อยที่สุด คือ
                 ข้อ 6 ผู้หญิง เด็ก และคนสูงอายุ ไม่ควรมีหน้าที่ในการ  ร้อยละ 94.44 โดยบริโภคภายในครัวเรือนและจ�าหน่าย
                                                             เป็นรายได้เสริม มีการเก็บหาช่วงเดือน มิถุนายน – ตุลาคม
                 ฟื้นฟูดูแลรักษาป่าชุมชน คิดเป็นร้อยละ 86.11 โดยมี
                 คะแนนความรู้เกี่ยวกับป่าชุมชนสูงสุด 9 คะแนน น้อย  หน่อไม้ที่เก็บหา มี 2 ชนิด คือ หน่อไผ่รวก และหน่อ
                                                             ไผ่สีสุก หน่อไม้ที่มีการเก็บมากที่สุด คือ หน่อไม้ไผ่รวก
                 ที่สุด 5 คะแนน และเฉลี่ย 5.59 คะแนน และระดับความรู้
                 เกี่ยวกับป่าชุมชน โดยใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนเป็นตัว  จ�านวน 12,893.00 กิโลกรัม/ปี และหน่อไม้ไผ่สีสุก
                                                             จ�านวน 31 กิโลกรัม/ปี ปริมาณหน่อไม้ที่เก็บหาทั้งหมด
                 แบ่ง ถ้ามีคะแนน ต�่า และ สูง กว่าค่าเฉลี่ยถือว่ามีระดับ
                 ความรู้เกี่ยวกับป่าชุมชน สูง และ ต�่า ตามล�าดับ จากการ  เท่ากับ 12,924.00 กิโลกรัม/ปี มีมูลค่าทั้งหมดเท่ากับ
                                                             194,170.00 บาท/ปี มูลค่าสุทธิเท่ากับ 63,025.80 บาท/ปี
                 ศึกษาพบว่าราษฎรมีระดับความความรู้เกี่ยวกับป่าชุมชน
                 สูง และ ต�่า คิดเป็นร้อยละ 83.33 และ 16.67 ตามล�าดับ  และมูลค่าสุทธิต่อครัวเรือนเฉลี่ย 1,750.72 บาท/ปี
                                                                     4. ผลไม้ป่า พบว่า ราษฎรเก็บหาผลไม้ป่าร้อยละ
                 ปริมาณและมูลค่าของป่า                        25.00 โดยบริโภคภายในครัวเรือนและจ�าหน่ายเป็น

                        ปริมาณการใช้ประโยชน์ของป่าที่ราษฎรเก็บ  รายได้เสริม มีการเก็บหาตลอดทั้งปี ชนิดของผลไม้ป่า
                 หา มีรายละเอียดดังนี้                       ที่เก็บมี 5 ชนิด คือ มะกอก มะกัก มะขามป้อม หนามเหยี่ยว
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87