Page 81 -
P. 81
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 76-84 (2557) 79
์
รองลงมาคือ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 16.67 และ 3.89 ตามล�าดับ การถือครองที่ดิน พบว่า
มัธยมศึกษาตอนปลาย และปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ ส่วนใหญ่มีที่ดินถือครอง ร้อยละ 63.78 และไม่มีที่ดิน
22.22, 13.89 และ 2.78 ตามล�าดับ จ�านวนสมาชิกใน ถือครอง ร้อยละ 36.11 โดยมีที่ดินถือครอง น้อยกว่า 1
ครัวเรือน พบว่า ส่วนใหญ่จะมีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือน ไร่ คิดเป็นร้อยละ 52.78 รองลงมา มีที่ดินถือครอง 1-10
4-6 คน คิดเป็นร้อยละ 55.56 รองลงมา คือ 1-3 คน ไร่ และตั้งแต่ 10 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 25.00 และ 5.56
ตั้งแต่ 7 คน ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 33.33 และ 11.11 ตาม ตามล�าดับ โดยมีที่ดินมากที่สุด 20.50 ไร่ และมีที่ดิน
ล�าดับ โดยมีจ�านวนสมาชิกน้อยที่สุด 1 คน มากที่สุด 10 คน เฉลี่ย 1.95 ไร่ การเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์
และเฉลี่ย 4.50 คน ต�าแหน่งทางสังคม พบว่า ส่วนใหญ่ ทรัพยากรป่าไม้ พบว่า ราษฎรส่วนใหญ่ไม่เคยเข้าร่วม
จะไม่มีต�าแหน่งทางสังคม ร้อยละ 72.22 และมีต�าแหน่ง กิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 77.78 และเคยเข้าร่วมกิจกรรม
ทางสังคม ร้อยละ 17.78 โดยมีต�าแหน่งเป็น คณะกรรมการ ร้อยละ 22.22 การได้รับข่าวสารหรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
ป่าชุมชน คณะกรรมการหมู่บ้าน และองค์การบริหาร กับป่าชุมชนของราษฎร พบว่า ได้รับข่าวสาร มีถึงร้อยละ
ส่วนต�าบล อาชีพหลัก พบว่า มีอาชีพหลักท�านา คิด 88.89 และไม่ได้รับข่าวสาร ร้อยละ 11.11 โดยได้รับ
เป็นร้อยละ 38.89 รองลงมา คือ อาชีพรับจ้าง ค้าขายกับ ข่าวสารจาก คณะกรรมการป่าชุมชน ร้อยละ 33.33 และ
แม่บ้านและอื่นๆ (เลี้ยงเป็ด พนักงานชลประทาน และ จากเจ้าหน้าที่ป่าไม้ และผู้ใหญ่บ้าน จ�านวนเท่ากัน ร้อยละ
พนักงานบริษัท) จ�านวนเท่ากัน และพนักงานชลประทาน 27.78 การได้รับการฝึกอบรมหรือดูงานที่เกี่ยวข้องกับ
กับพนักงานบริษัท จ�านวนเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 36.11 ทรัพยากรป่าไม้ พบว่า ส่วนใหญ่ราษฎรไม่ได้รับการ
และ 8.33 ตามล�าดับ อาชีพรอง พบว่า มีอาชีพรอง ร้อยละ ฝึกอบรมหรือดูงาน คิดเป็นร้อยละ 86.11 และได้รับการ
55.56 ได้แก่ เก็บหาของป่า และเก็บของเก่า รวมทั้งรับซื้อ ฝึกอบรมหรือดูงาน ร้อยละ 13.89
ของป่า มีจ�านวนเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 50.00 และ 2.78 ความเชื่อถือในบทบาทของคณะกรรมการป่าชุมชน
ตามล�าดับ และไม่มีอาชีพรอง ร้อยละ 44.44 รายได้รวม ความเชื่อถือในบทบาทของคณะกรรมการป่า
ทั้งหมดพบว่ามีรายได้ของครัวเรือนต่อปี 100,000 - ชุมชน จากการศึกษา พบว่า ค�าถามจ�านวน 10 ข้อ ที่
200,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 44.45 รองลงมามีรายได้ ราษฎรทุกคนเลือกตอบว่ามีความเชื่อถือในบทบาทของ
น้อยกว่า 100,000 บาท และมากกว่า 200,000 บาท ขึ้นไป คณะกรรมการป่าชุมชนทั้งหมด คือ ข้อ 2 ท่านรู้สึกพอใจ
จ�านวนเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 33.33 และ 22.22 ตาม กับผลงานของคณะกรรมการป่าชุมชน ข้อ 6 ท่านมีส่วน
ล�าดับ โดยมีรายได้ทั้งหมดมากที่สุด 900,000 บาท น้อย ร่วมในการฟื้นฟู บ�ารุง ดูแลรักษาป่าชุมชน เพราะได้รับ
ที่สุด 36,000 บาท และเฉลี่ย 204,056 บาท รายจ่าย การประชาสัมพันธ์จากคณะกรรมการป่าชุมชน ข้อ 8 คณะ
พบว่ามี รายจ่ายของครัวเรือนทั้งหมดต่อปีน้อยกว่า กรรมการป่าชุมชนควรเป็นแบบอย่างที่ดีในการบริหาร
100,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 44.44 รองลงมามีรายจ่าย จัดการ และอนุรักษ์ป่าชุมชน และข้อ 9 คณะกรรมการ
ทั้งหมดคือ 100,000 - 200,000 บาท และมากกว่า 200,000 ป่าชุมชนปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างถูกต้องและเป็นธรรมแก่
บาท คิดเป็นร้อยละ 33.33 และ 22.22 ตามล�าดับโดยมี สมาชิกชุมชนอย่างเสมอภาค และค�าถามที่ราษฎรเลือก
รายจ่ายมากที่สุด 600,000 บาท น้อยที่สุด 36,000 บาท ตอบว่ามีความเชื่อถือในบทบาทของคณะกรรมการป่า
และเฉลี่ย 151,908 บาท สภาวะทางการเงินในครัวเรือน ชุมชนน้อยที่สุด คือ ข้อ 3 ท่านเข้ามามีส่วนร่วมในการ
พบว่า ส่วนใหญ่มีหนี้สิน คิดเป็นร้อยละ 69.44 รองลง จัดการป่าชุมชน เพราะคณะกรรมการป่าชุมชนมีความ
มา มีเงินออม และมีรายได้พอดีกับรายจ่าย คิดเป็นร้อยละ น่าเชื่อถือ คิดเป็นร้อยละ 55.56 โดยมีคะแนนความเชื่อถือ