Page 79 -
P. 79
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 76-84 (2557) 77
์
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพทางเศรษฐกิจ สังคม การใช้ประโยชน์ และมูลค่าการใช้
ประโยชน์ของป่า ของราษฎรในพื้นที่ป่าชุมชนบ้านเขาเขียว โดยใช้แบบสัมภาษณ์ในการเก็บข้อมูลของราษฎรที่อยู่
ในบริเวณป่าชุมชนบ้านเขาเขียว จ�านวน 36 ครัวเรือน ท�าการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย
ค่าต�่าสุด และค่าสูงสุด
ผลการศึกษา พบว่า ราษฎรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 45.25 ปี ราษฎรส่วนใหญ่จบการศึกษาชั้นประถม
ศึกษา มีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.50 คน ไม่มีต�าแหน่งทางสังคม ราษฎรส่วนใหญ่มีอาชีพหลักท�านา และ
เก็บของป่าเป็นอาชีพรอง ราษฎรมีรายได้ เฉลี่ย 204,056 บาท และรายจ่ายเฉลี่ย 151,908 บาท มีที่ดินถือครองเฉลี่ย
1.95 ไร่ ราษฎรส่วนใหญ่ไม่เคยเข้าร่วมกิจกรรมการอนุรักษ์ แต่ได้รับข่าวสารเกี่ยวกับป่าชุมชน ของป่าที่ราษฎรเก็บ
หามี 9 ชนิด ได้แก่ ไม้ฟืน ไม้ไผ่ หน่อไม้ ผลไม้ป่า พืชผักป่า เห็ด พืชกินหัว แมลงและผลผลิตจากแมลง และสมุนไพร
มีมูลค่าการใช้ประโยชน์รวม 601,163.50 บาท มีมูลค่าการใช้ประโยชน์สุทธิ 395,981.90 บาท และมีมูลค่าสุทธิเฉลี่ย
10,971.71 บาท/ครัวเรือน มีการใช้หน่อไม้ไผ่รวกจากป่าชุมชน เป็นวัตถุดิบในการแปรรูปท�าเป็นอุตสาหกรรมภายใน
ครัวเรือน มีปริมาณทั้งหมด 650 กิโลกรัม/ปี
ค�าส�าคัญ: มูลค่าการใช้ประโยชน์ ของป่า ป่าชุมชน
ค�าน�า และราษฎรมีการน�าของป่ามาใช้ประโยชน์ในด้าน
ของป่ามีบทบาทส�าคัญ ต่อการครองชีพของ ต่างๆ ได้แก่ การน�ามาใช้เป็นอาหาร ยารักษาโรค และ
ราษฎรในชุมชนชนบท และราษฎรที่อาศัยอยู่ในป่า เชื้อเพลิง ของป่าที่น�ามาใช้ประโยชน์ เช่น ไม้ฟืน เห็ด
หรือรอบๆ ป่า และเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศ หน่อไม้ และสมุนไพร เป็นต้น เพื่อใช้สอยในครัวเรือน
เนื่องจากประเทศไทยเป็นประเทศที่อยู่ในเขตร้อนชื้น และเป็นแหล่งรายได้เสริม ผู้วิจัยมีความสนใจในการ
จึงมีความหลากหลายทางชีวภาพจากผลผลิตของป่าสูง ใช้ประโยชน์ของป่า และการหามูลค่าการใช้ประโยชน์
ผลผลิตของป่าจึงมีบทบาทมาเป็นเวลานับร้อยปี แต่ก็มี จากของป่า โดยวิธีการทางเศรษฐศาสตร์ ตลอดจนการ
ผลผลิตของป่าเพียงไม่กี่ชนิดที่สามารถน�ามาขยายพันธุ์ แปรรูปของป่าของราษฎร เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับ
และพัฒนาให้เข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม และยังมีอีกหลาย ของป่า เพื่อสะท้อนให้ราษฎรได้เห็นคุณค่าของป่า และ
ชนิดที่ไม่ได้รับความสนใจ ประกอบกับการสูญเสียความ ตระหนักถึงความส�าคัญของป่าชุมชน
สมดุลของสภาพแวดล้อม ผลผลิตของป่าเป็นทางเลือก การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพ
ที่ส�าคัญอีกทางหนึ่งในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ทางเศรษฐกิจ สังคม การใช้ประโยชน์ และมูลค่าการ
(วนิดา, 2539) ใช้ประโยชน์ของป่า ของราษฎรในพื้นที่ป่าชุมชนบ้าน
ป่าชุมชนบ้านเขาเขียว หมู่ที่ 9 ต�าบลหัวเขา เขาเขียว
อ�าเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นป่า อุปกรณ์และวิธีการ
เบญจพรรณ ไม้ที่พบ เช่น ตะแบก ประดู่ เลียบฯ ได้รับ
การอนุมัติโครงการตั้งเป็นป่าชุมชน เมื่อปี พ.ศ. 2547 อุปกรณ์ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วย
มีพื้นที่จ�านวน 266 ไร่ (ส�านักจัดการป่าชุมชน, 2553) แบบสัมภาษณ์ อุปกรณ์เครื่องเขียน เครื่องคอมพิวเตอร์
เนื่องจากป่าชุมชนบ้านเขาเขียวมีของป่าที่หลากหลาย และกล้องถ่ายรูป