Page 74 -
P. 74
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
72 Thai J. For. 33 (1) : 66-75 (2014)
เฉลี่ย 1.51 และ 1.48 คะแนน ตามล�าดับ ผลการทดสอบ น้อยกว่าอาจเป็นผู้ได้รับผลกระทบจากไฟป่าที่เกิดขึ้น
สมมติฐานพบว่า ราษฎรที่มีระยะเวลาที่อยู่อาศัยใน โดยตรง ทั้งด้านที่อยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม จึงเข้ามามี
หมู่บ้านต่างกันมีส่วนร่วมในการควบคุมไฟป่าแตกต่าง ส่วนร่วมในการควบคุมไฟป่าแตกต่างกัน
กันอย่างไม่มีนัยส�าคัญทางสถิติ (t = -0.383; p-value = สมมติฐานที่ 13 การเป็นสมาชิกกลุ่มทาง
0.702) ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ สังคมของราษฎรที่ต่างกันมีส่วนร่วมในการควบคุมไฟป่า
สมมติฐานที่ 10 การมีพื้นที่ดินถือครอง ต่างกัน ในการวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระออกเป็น 2
ต่างกันมีส่วนร่วมในการควบคุมไฟป่าต่างกัน ในการ กลุ่ม คือ เป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคม และไม่เป็นสมาชิก
วิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระออกเป็น 2 กลุ่ม คือ มี กลุ่มทางสังคม โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมเฉลี่ย 1.90
พื้นที่ดินถือครอง และไม่มีที่ดินถือ โดยมีคะแนนการ และ 1.11 คะแนนตามล�าดับ ผลการทดสอบสมมติฐาน
มีส่วนร่วมเฉลี่ย 1.51 และ 1.49 คะแนน ตามล�าดับ พบว่า ราษฎรที่เป็นสมาชิกกลุ่มทางสังคมต่างกันมีส่วน
ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ราษฎรที่มีพื้นที่ดินถือ ร่วมในการควบคุมไฟป่าแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญ
ครองต่างกันมีส่วนร่วมในการควบคุมไฟป่าแตกต่าง ทางสถิติ (t = -3.913; p-value = 0.000) ซึ่งเป็นไปตาม
กันอย่างไม่มีนัยส�าคัญทางสถิติ (t = 0.559; p-value = สมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เนื่องจากกลุ่มที่เป็นสมาชิกกลุ่ม
0.576) ซึ่งไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทางสังคม ได้มีโอกาสพบปะ ได้แลกเปลี่ยน ความรู้
สมมติฐานที่ 11 ราษฎรที่มีระยะห่างของที่ และมีทัศนคติไปในทางเดียวกัน ท�าให้เกิดความเข้าใจ
ท�ากินจากขอบเขตป่าชุมชนต่างกันมีส่วนร่วมในการ ที่ตรงกัน และเกิดความสามัคคีภายในกลุ่มจึงเข้ามามี
ควบคุมไฟป่าต่างกัน ในการวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปร ส่วนร่วมในการควบคุมไฟป่ามากกว่า
อิสระออกเป็น 2 กลุ่ม คือ มีระยะห่างน้อยกว่าหรือเท่ากับ สมมติฐานที่ 14 การได้รับข่าวสารเกี่ยวกับ
2 กิโลเมตร และมีระยะห่างมากกว่า 2 กิโลเมตร โดย การป้องกันไฟป่าของราษฎรที่ต่างกันมีส่วนร่วมในการ
มีคะแนนการมีส่วนร่วมเฉลี่ย1.43 และ 1.58 คะแนน ควบคุมไฟป่าต่างกัน ในการวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปร
ตามล�าดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ราษฎรที่ อิสระออกเป็น 2 กลุ่ม เคยได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ
มีระยะห่างของที่ท�ากินจากขอบเขตป่าชุมชนต่างกันมี การป้องกันไฟป่า และไม่เคยได้รับข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ
ส่วนร่วมในการควบคุมไฟป่าแตกต่างกันอย่างไม่มีนัย การป้องกันไฟป่า โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมเฉลี่ย
ส�าคัญทางสถิติ (t = - 1.709; p-value = 0.089) ซึ่งไม่ 1.71 และ 1.50 คะแนน ตามล�าดับ ผลการทดสอบ
เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ สมมติฐานพบว่า ราษฎรที่มีการได้รับข่าวสารเกี่ยวกับ
สมมติฐานที่ 12 กลุ่มราษฎรที่มีระยะห่าง การป้องกันไฟป่าต่างกันมีส่วนร่วมในการควบคุมไฟป่า
ของบ้านจากขอบเขตป่าชุมชนต่างกันมีส่วนร่วมในการ แตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติ (t = -6.935; p-value
ควบคุมไฟป่าต่างกัน ในการวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระ = 0.000) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เนื่องจาก
ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ มีระยะห่างน้อยกว่าหรือเท่ากับ กลุ่มที่เคยได้รับข่าวสารเกี่ยวกับการป้องกันไฟป่ามีความรู้
2 กิโลเมตร และมีระยะห่างมากกว่า 2 กิโลเมตร โดย ความเข้าใจ และเกิดจิตส�านึกที่ดีจึงเข้ามามีส่วนร่วมใน
มีคะแนนการมีส่วนร่วมเฉลี่ย 1.57 และ 1.43 คะแนน การควบคุมไฟป่ามากกว่า
ตามล�าดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ราษฎรที่มี สมมติฐานที่ 15 การได้รับการฝึกอบรมจาก
ระยะห่างของบ้านจากขอบเขตป่าชุมชนต่างกันมีส่วน เจ้าหน้าที่ป่าไม้ของราษฎรที่ต่างกันมีส่วนร่วมในการ
ร่วมในการควบคุมไฟป่าแตกต่างกันอย่างมีนัยส�าคัญ ควบคุมไฟป่าต่างกัน ในการวิเคราะห์ได้แบ่งตัวแปรอิสระ
ทางสถิติ (t = 3.613; p-value = 0.004) ซึ่งเป็นไปตาม ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ เคยได้รับการฝึกอบรม และไม่เคย
สมมติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้เนื่องจาก กลุ่มที่มีระยะห่าง ได้รับการฝึกอบรม โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมเฉลี่ย