Page 70 -
P. 70
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
68 Thai J. For. 33 (1) : 66-75 (2014)
โลกร้อน (global warming) ซึ่งเป็นภาวะที่อุณหภูมิของ อุปกรณ์และวิธีการ
โลกโดยเฉลี่ยสูงขึ้น ทั้งนี้สาเหตุของการเกิดไฟป่ามาจาก การเก็บรวบรวมข้อมูล
การจุดของมนุษย์ทั้งโดยเจตนาและไม่เจตนา (สันต์
และคณะ, 2534) ข้อมูลทุติยภูมิ โดยการศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่
ป่าชุมชนบ้านโนนชาด ในอดีตเคยมีปัญหา เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของราษฎรในการควบคุม
การเกิดไฟป่า โดยมีสาเหตุเกิดจาก การเผาไร่ เพื่อก�าจัด ไฟป่า ความรู้เกี่ยวกับไฟป่า ค้นคว้าเอกสาร และงาน
พืชหรือเศษซากพืชที่เหลือภายหลังการเก็บเกี่ยว โดย วิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อก�าหนดกรอบแนวคิดและขอบเขต
ปราศจากการควบคุม การล่าสัตว์ โดยใช้วิธีจุดไฟไล่ การ การศึกษา ข้อมูลปฐมภูมิ โดยการรวบรวมข้อมูลจาก
ลักลอบจุดไฟเผาให้โล่งเพื่อเข้าไปเก็บหาเห็ด และการ การตอบแบบสอบถามของประชากรตัวอย่าง
เลี้ยงปศุสัตว์แบบปล่อยให้เข้าไปหากินเอง ซึ่งก่อให้เกิด ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ผลกระทบต่อระบบนิเวศ ท�าให้ความหลากหลายทาง ก�าหนดประชากรตัวอย่างซึ่งเป็นหัวหน้าครัว
ชีวภาพลดลง ขาดความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหาร เรือนหรือตัวแทนหัวหน้าครัวเรือนที่ตั้งบ้านเรือนอยู่
จากป่าชุมชน ราษฎรในพื้นที่ป่าชุมชนบ้านโนนชาด จึง อาศัยในท้องที่ต�าบลดงเค็ง อ�าเภอหนองสองห้อง จังหวัด
เกิดความตระหนักและเห็นถึงความส�าคัญในควบคุมไฟ ขอนแก่น จ�านวน 5 หมู่บ้าน การก�าหนดขนาดของกลุ่ม
ป่าโดยการมีส่วนร่วมของประชาชน จากการสนับสนุน ตัวอย่าง โดยใช้สูตรของ Yamane (1973) ได้ขนาดกลุ่ม
องค์ความรู้และงบประมาณส�าหรับการจัดการไฟป่า ตัวอย่าง จ�านวน 250 ครัวเรือน การสุ่มตัวอย่างให้เกิด
จากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง จนท�าให้ประสบความ การกระจายในแต่ละหมู่บ้านตามสัดส่วนที่เหมาะสม
ส�าเร็จในการควบคุมไฟป่าและสามารถอนุรักษ์ความ โดยใช้สูตรของสุบงกช (2526) วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ
อุดมสมบูรณ์ของสภาพป่า ท�าให้ป่าชุมชนบ้านโนนชาด แบ่งชั้นภูมิ (stratified random sampling) โดยการจับ
ได้รับการคัดเลือกจากคณะกรรมการพิจารณาคัดเลือก ฉลากเลขที่บ้านของประชากรตัวอย่าง
หมู่บ้านชุมชนอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ดีเด่นให้ได้รับ
พระราชทานธง “พิทักษ์ป่าเพื่อรักษาชีวิต”จากสมเด็จ การสร้างแบบสอบถาม
พระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ 20 เมษายน สร้างแบบสอบถาม โดยครอบคลุมตาม
พ.ศ. 2539 ณ ต�าหนักภูพานราชนิเวศ จังหวัดสกลนคร วัตถุประสงค์ และตัวแปรทุกตัวที่ศึกษาก�าหนดไว้ตาม
(องค์การบริหารส่วนต�าบลดงเค็ง, 2555) กรอบแนวคิด และทฤษฎี ประกอบด้วย 1) ส่วนที่ 1
จากเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจท�าการศึกษา เรื่องข้อมูลสภาพทางเศรษฐกิจสังคมและข้อมูลทั่วไป
ถึงสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมรวมถึงปัจจัยที่มีผล 2) ส่วนที่ 2 เรื่องความรู้เกี่ยวกับไฟป่า และ 3) ส่วนที่ 3
ต่อระดับการมีส่วนร่วมของราษฎรในการควบคุมไฟ เรื่องการมีส่วนร่วมของราษฎรในการควบคุมไฟป่า
ป่าในพื้นที่ป่าชุมชนบ้านโนนชาด ต�าบลดงเค็ง อ�าเภอ การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (content
หนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น ว่ามีมากน้อยขนาดไหน of validity)
เพื่อใช้เป็นแนวทางในการวางแผนควบคุมไฟป่าให้มี โดยการน�าแบบสอบถามเสนอต่อคณะกรรมการ
ความเหมาะสมกับสภาพด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และ ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพื่อท�าการตรวจสอบและแก้ไข
เศรษฐกิจของชุมชน มีศักยภาพในการอ�านวยประโยชน์ ให้มีความถูกต้องเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาและครอบคลุม
ให้กับชุมชนทั้งทางตรงและทางอ้อมอย่างยั่งยืนต่อไป วัตถุประสงค์ในการท�าวิจัย