Page 71 -
P. 71
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 66-75 (2557) 69
์
การทดสอบแบบสอบถาม 38.80 มีอายุเฉลี่ย 52.40 ปี มีอายุมากที่สุด 69 ปี และ
โดยการน�าแบบสอบถามไปทดสอบ (pre-test) มีอายุน้อยที่สุด 22 ปี ส่วนใหญ่มีการศึกษาต�่ากว่าและ
จ�านวน 30 ชุด กับราษฎรที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านใกล้เคียง เท่ากับระดับประถมศึกษา ร้อยละ 86.00 รองลงมา
กับพื้นที่ที่ท�าการศึกษา แล้วน�าผลที่ได้มาตรวจสอบ มีการศึกษาสูงกว่าหรือเท่ากับระดับมัธยมศึกษาตอน
คุณภาพของเครื่องมือ ด้วยวิธีของ Cronbach (พวงรัตน์, ปลาย ร้อยละ 7.60 มีจ�านวนสมาชิกในครัวเรือนน้อย
2540) ได้ค่า Alpha เท่ากับ 0.974 ส่วนความรู้เกี่ยวกับ กว่าหรือเท่ากับ 4 คน รองลงมามีจ�านวนสมาชิกใน
ไฟป่า ตรวจสอบความน่าเชื่อถือ โดยวิธีของ Kuder- ครัวเรือนมากกว่า 4 คน ร้อยละ 59.60 และ 40.40
Richardson (KR–20) (ล้วน และอังคณา, 2524) มีค่า ตามล�าดับ จ�านวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.37 คน
เท่ากับ 0.855 มากที่สุด 10 คน น้อยที่สุด 2.00 คน มีจ�านวนแรงงาน
ในครัวเรือน จ�านวนน้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 คน ร้อยละ
การวิเคราะห์ข้อมูล 63.60 รองลงมาจ�านวนมากกว่า 3 คน ร้อยละ 36.40
1. การประมวลผลข้อมูลและการวิเคราะห์ เฉลี่ยจ�านวนแรงงาน 3.22 คน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ
ข้อมูล เป็นการน�าข้อมูลที่รวบรวมได้มาตรวจสอบความ หลัก คือ เกษตรกรรม (ท�านา) รองลงมามีอาชีพอื่นๆ
ถูกต้อง ความสมบูรณ์ การลงรหัส (coding) ป้อนข้อมูล (ค้าขาย รับจ้าง และรับราชการ) ร้อยละ 89.60 และ
ที่ได้และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมส�าเร็จรูปทาง 10.40 ตามล�าดับ มีอาชีพรอง คือ อาชีพอื่นๆ (รับจ้าง
สถิติ โดยจ�าแนกการวิเคราะห์ข้อมูลออกเป็น 2 ลักษณะ ค้าขาย และอื่นๆ) ไม่มีอาชีพรอง และอาชีพเกษตรกรรม
คือ การวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ (ท�านา ท�าสวน ท�าไร่ และเลี้ยงสัตว์) ร้อยละ 52.00,
ข้อมูลเชิงปริมาณ 34.40 และ 13.60 ตามล�าดับ มีรายได้สุทธิของครัวเรือน
2. การวิเคราะห์ข้อมูล สามารถจ�าแนกวิธีการ เฉลี่ยต่อปีเท่ากับ 81,573.64 บาท มีรายได้สูงที่สุด
วิเคราะห์ข้อมูลออกเป็น 2 ลักษณะ คือ การวิเคราะห์ 850,000.00 บาท มีรายได้ต�่าที่สุด 1,000 บาท มีระยะ
ข้อมูลเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ เวลาที่ตั้งถิ่นฐาน เฉลี่ย 47.60 ปี ส่วนใหญ่มีระยะเวลา
คือ 1) ข้อมูลสภาพทางด้านเศรษฐกิจสังคมและข้อมูล ที่ตั้งถิ่นฐาน มากกว่า 48 ปี ร้อยละ 52.00 และมีระยะ
ทั่วไป ความรู้เกี่ยวกับไฟ ค�านวณหาค่าความถี่ ค่า เวลาที่ตั้งถิ่นฐานน้อยกว่าหรือเท่ากับ 48 ปี ร้อยละ
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสูงสุด และ 47.60 ราษฎรกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพื้นที่ดินถือครอง
ค่าต�่าสุด ส่วนการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่าง ร้อยละ 78.80 ไม่มีที่ดินถือครอง ร้อยละ 21.20 โดยมี
ตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ใช้ค่าสถิติ t-test กับ ที่ดินถือครองมากกว่า 20 ไร่ ขึ้นไป ร้อยละ 29.90 รอง
ตัวแปรอิสระที่แบ่งกลุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม และใช้ค่าสถิติ ลงมามีน้อยกว่า 5 ไร่ ร้อยละ 20.81 มีระยะห่างระหว่าง
F-test กับตัวแปรอิสระที่แบ่งกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่มขึ้น ที่ดินท�ากินจากขอบเขตป่าชุมชน โดยมีระยะห่างน้อย
ไป ก�าหนดนัยส�าคัญทางสถิติไว้ที่ระดับ 0.05 หรือที่ กว่าหรือเท่ากับ 2 กิโลเมตร ร้อยละ 52.80 มีระยะห่าง
ระดับความเชื่อมั่นทางสถิติร้อยละ 95 มากกว่า 2 กิโลเมตร ร้อยละ 47.20 โดยมีระยะห่างเฉลี่ย
ผลและวิจารณ์ 1.90 กิโลเมตร ระยะห่างของบ้านจากขอบเขตป่าชุมชน
ส่วนใหญ่มีระยะห่างน้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 กิโลเมตร
ลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของประชาชน รองลงมามีระยะห่างมากกว่า 2 กิโลเมตร ร้อยละ 76.00
ตัวอย่าง ผลการศึกษาปรากฏดังต่อไปนี้ และ 24.00 ตามล�าดับ โดยมีระยะห่างเฉลี่ย 1.98 กิโลเมตร
จากการศึกษาพบว่า ราษฎรกลุ่มตัวอย่างส่วน ราษฎรกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เป็นสมาชิก
ใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 61.20 เป็นเพศชาย ร้อยละ กลุ่มทางสังคม ร้อยละ 76.80 รองลงมาเป็นสมาชิกกลุ่ม