Page 93 -
P. 93

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                          วารสารวนศาสตร 33 (1) : 85-96 (2557)                     91
                                                         ์



                             100   100    99.4   99.4   98.2   95.8
                 100 100                                             92.3   89.9
                                                                                   83.3
                   8080                                                                   75
                   6060
                                                                                                 35.7
                   4040

                   2020
                    0 0









                 Figure 2 Percentages of the respondent collected various type of forest products
                      Figure 2 Percentages of the respondent collected various type of forest products
                        1. ไม้ฟืน ครัวเรือนตัวอย่างทั้งหมดใช้ประโยชน์     4. กล้วยไม้ป่า ครัวเรือนตัวอย่างในสัดส่วน
                 จากไม้ฟืน โดยเฉลี่ยประมาณ 11 ลูกบาศก์เมตรต่อ  เดียวกันคือร้อยละ 99.4 เก็บหากล้วยไม้ป่า เฉลี่ย 56

                 ครัวเรือนต่อปี ส่วนใหญ่ ร้อยละ 56.00 ใช้ในระดับมาก   กิโลกรัมต่อครัวเรือนต่อปี โดยร้อยละ 38.96 เก็บหาใน
                 หรือกว่า 10 ลูกบาศก์เมตรต่อครัวเรือนต่อปี ขณะที่ร้อยละ   ปริมาณไม่เกิน 30 กิโลกรัมต่อครัวเรือนต่อปี ขณะที่
                 23.80 และร้อยละ 20.20 ของครัวเรือนตัวอย่าง ใช้ไม้ฟืนใน  ร้อยละ 34.71 เก็บมากกว่า 60 กิโลกรัมต่อครัวเรือนต่อปี
                 ระดับปานกลาง (ประมาณ 9-10 ลูกบาศก์เมตรต่อครัวเรือน  และร้อยละ 26.36 เก็บในระดับปานกลางคือประมาณ
                 ต่อปี) และระดับน้อย (ต�่ากว่า 9 ลูกบาศก์เมตรต่อครัวเรือน  31-60 กิโลกรัมต่อครัวเรือนต่อปี
                 ต่อปี) ตามล�าดับ                                    5. สัตว์ป่า ครัวเรือนตัวอย่าง ร้อยละ 98.2 ใช้
                        2. เห็ด ครัวเรือนตัวอย่างทั้งหมดเก็บหาเห็ด  ประโยชน์จากสัตว์ป่า เฉลี่ย 89 กิโลกรัมต่อครัวเรือนต่อปี
                 จากป่า โดยเฉลี่ย 47 กิโลกรัมต่อครัวเรือนต่อปี ร้อยละ   มากกว่าครึ่งของครัวเรือนตัวอย่าง (ร้อยละ 54.58) ใช้

                 44.81 เก็บหาเห็ดมากกว่า 30 กิโลกรัมต่อครัวเรือนต่อปี   ในปริมาณมากกว่า 75 กิโลกรัมต่อครัวเรือนต่อปี ร้อยละ
                 ร้อยละ 41.85 เก็บหาเห็ด 21-30 กิโลกรัมต่อครัวเรือน  25.46 ใช้น้อยกว่า 51 กิโลกรัมต่อครัวเรือนต่อปี และร้อยละ
                 ต่อปี และร้อยละ 13.34 เก็บเห็ดได้ไม่เกิน 20 กิโลกรัม  19.96 ใช้ในระดับปานกลางตั้งแต่ 51-75 กิโลกรัมต่อ
                 ต่อครัวเรือนต่อปี                           ครัวเรือนต่อปี
                        3. ดอกแขม (หญ้าไม้กวาด) ร้อยละ 99.4 ของ      6. หน่อไม้ ร้อยละ 95.8 ของครัวเรือนตัวอย่าง
                 ครัวเรือนตัวอย่างเก็บหาดอกแขม เฉลี่ยประมาณ 100   เก็บหาหน่อไม้ เฉลี่ย 74 กิโลกรัมต่อครัวเรือนต่อปี ร้อยละ
                 กิโลกรัมต่อครัวเรือนต่อปี ส่วนใหญ่ ร้อยละ 49.09 เก็บ  41.61 เก็บหาปริมาณมากกว่า 60 กิโลกรัมต่อครัวเรือน
                 หาในปริมาณมาก หรือกว่า 100 กิโลกรัมต่อครัวเรือน  ต่อปี ร้อยละ 31.70 เก็บหา 41-60 กิโลกรัมต่อครัวเรือน
                 ต่อปี ที่เหลือ ร้อยละ 26.36 และร้อยละ 24.55 เก็บหา  ต่อปี และร้อยละ 26.69 เก็บหน่อไม้น้อยกว่า 41 กิโลกรัม

                 ในระดับปานกลางและระดับน้อย คิดเป็นปริมาณเก็บ  ต่อครัวเรือนต่อปี
                 หา 51-100 และเก็บน้อยกว่า 51 กิโลกรัมต่อครัวเรือน     7. พืชผักป่า ร้อยละ 92.3 ของครัวเรือนตัวอย่าง
                 ต่อปี ตามล�าดับ                             ใช้ประโยชน์พืชผักป่า เฉลี่ย 51 กิโลกรัมต่อครัวเรือน
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98