Page 91 -
P. 91
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 85-96 (2557) 89
์
การอบรมระเบียบและ/หรือกฎหมายป่าไม้ สูงสุด (maximum) ค่าต�่าสุด (minimum) และค่าเบี่ยง
ตอนที่ 2 ข้อมูลครัวเรือนของผู้ให้สัมภาษณ์ เบนมาตรฐาน (standard deviation)
ประกอบด้วย จ�านวนสมาชิก จ�านวนแรงงาน รายได้และ ก�าหนดเกณฑ์การแบ่งระดับความรู้ความเข้าใจ
รายจ่าย จ�านวนแปลงที่ดินและขนาดที่ดินถือครอง และ ของกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 3 ระดับ จากคะแนนเต็ม 1
การใช้ประโยชน์ที่ดิน คะแนน ดังนี้
ตอนที่ 3 การใช้ประโยชน์และการจัดการ คะแนน 0.01–0.33 มีระดับความรู้น้อย
ทรัพยากรป่าไม้และการควบคุมการใช้ประโยชน์ คะแนน 0.34–0.66 มีระดับความรู้ปานกลาง
ตอนที่ 4 ปัญหาอุปสรรค และหนทางแก้ไข คะแนน 0.67–1.00 มีระดับความรู้มาก
เกี่ยวกับการก�าหนดแนวทางการจัดการทรัพยากรป่าไม้ ก�าหนดเกณฑ์การใช้ประโยชน์จากทรัพยากร
น�าแบบสัมภาษณ์ที่สร้างขึ้นเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ ป่าไม้ เป็น 3 ระดับได้แก่ ระดับต�่า (ร้อยละ 30) ปานกลาง
ด้านวนศาสตร์ชุมชน เพื่อตรวจสอบและให้ค�าแนะน�าเพื่อ (ร้อยละ 31 – 60) และสูง (มากกว่าร้อยละ 60)
แก้ไขให้มีความถูกต้องเที่ยงตรงในเชิงเนื้อหา (content 2. ใช้วิธีวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ (relationship
validity) เพื่อหาความเที่ยงตรง (validity) จากนั้น น�า analysis) ส�าหรับการทดสอบสมมติฐานความสัมพันธ์
แบบสัมภาษณ์ จ�านวน 30 ชุดไปทดสอบ (pre-test) ระหว่างปริมาณการใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้แต่ละ
กับกลุ่มผู้แทนครัวเรือนตัวอย่าง ในพื้นที่ใกล้เคียงกับ ผลผลิต ซึ่งเป็นตัวแปรต้น (independent variable) และ
พื้นที่ศึกษาโดยเลือกสัมภาษณ์ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปี ปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมของผู้ให้สัมภาษณ์ ตัวแปร
ขึ้นไป เพื่อหาความเชื่อมั่น (reliability) ก่อนน�าไปใช้ ตาม (dependent variable) โดยค�านวณค่าไคสแควร์
เก็บข้อมูลจริง โดยใช้ค่า KR20 เป็นตัวชี้วัดความเชื่อมั่น (chi-square) ที่ระดับนัยส�าคัญทางสถิติ 0.05 ใช้สูตร
ของแบบสัมภาษณ์ ซึ่งพบว่า ประเด็นความรู้เกี่ยวกับ ค�านวณดังนี้ (O-E) 2
2
การอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ มีค่า KR20 เท่ากับ 0.7977 x = E
2
และประเด็นความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายป่าไม้ มี เมื่อ x คือ ค่าไคสแควร์
ค่า KR20 เท่ากับ 0.7740 O คือ ค่าความถี่ที่ศึกษามาได้
E คือ ค่าความถี่ที่คาดหวังโดยทฤษฎี
การเก็บข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิด้วยวิธีกำรสัมภำษณ์ ผลและวิจารณ์
หัวหน้ำครัวเรือนที่เลือกเป็นตัวอย่ำงซึ่งมีอายุไม่น้อย
กว่า 18 ปี และกำรถ่ำยภำพประกอบกำรปฏิบัติงำน สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนตัวอย่าง
ส�ำหรับข้อมูลทุติยภูมิเก็บด้วยวิธีกำรตรวจเอกสำรจำก ผู้สัมภาษณ์มีอายุเฉลี่ย 39.86 ปี อายุมากที่สุด
หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องต่างๆ ทั้งในประเทศไทยและ 70 ปี และน้อยที่สุด 18 ปี ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 92.3) เป็น
ประเทศ สปป.ลาว เพศชาย มากกว่า ร้อยละ 70 จบการศึกษาต�่ากว่าชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย รวมถึงผู้ที่ไม่ได้เรียนหนังสือ
การวิเคราะห์ข้อมูล ร้อยละ 2.4 เกือบทั้งหมด หรือร้อยละ 98.9 เป็นเกษตรกร
1. ใช้วิธีทางสถิติเชิงพรรณนา (descriptive ซึ่งส่วนใหญ่ท�าไร่ เกือบทุกคนหรือร้อยละ 99.4 เคย
statistics) ส�าหรับการวิเคราะห์ข้อมูลสภาพทางเศรษฐกิจ เข้าร่วมฝึกอบรมที่หน่วยงานของรัฐจัดขึ้น เช่น หลักสูตร
สังคม การใช้ประโยชน์และการจัดการทรัพยากรป่าไม้ ผลกระทบการแผ้วถางป่าท�าไร่เลื่อนลอยจากห้องการ
รวมทั้งปัญหาอุปสรรคต่างๆ โดยค�านวณหาค่าร้อยละ เกษตร (ร้อยละ 66.1) หลักสูตรการอนุรักษ์ทรัพยากร
(percentage) ค่าความถี่ (frequency) ค่าเฉลี่ย (mean) ค่า ป่าไม้โดยป่าไม้อ�าเภอ (ร้อยละ 33.3)