Page 96 -
P. 96
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
94 Thai J. For. 33 (1) : 85-96 (2014)
เหตุผลที่มีความสัมพันธ์
Wild orchid 0.000* 0.368 ns 0.385 ns 0.168 ns 0.124 ns 0.356 ns 0.327 ns 0.270 ns ทรัพยากรป่าไม้อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
1. อาชีพมีความสัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์
ได้แก่ หน่อไม้และกล้วยไม้ ทั้งนี้เนื่องจากประชาชน
Broom grass 0.781 ns 0.368 ns 0.385 ns 0.168 ns 0.124 ns 0.356 ns 0.304 ns 0.270 ns ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม
2. ระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับการใช้
ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่
Wild animal 0.076 ns 0.691 ns 0.994 ns 0.557 ns 0.907 ns 0.332 ns 0.073 ns 0.452 ns ระดับ 0.05 ได้แก่ ไม้ไผ่ หน่อไม้ พืชผักป่า สมุนไพร
และแมลงกินได้ ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่จบ
Edible insect 0.489 ns 0.000* 0.079 ns 0.009* 0.310 ns 0.005* 0.000* 0.000* การศึกษาระดับมัธยมศึกษาหรือสูงกว่า ถือได้ว่าได้รับ
การศึกษาหรือมีการศึกษาค่อนข้างดี ส่งผลให้มีการใช้
p-values from the Chi-square test Medicinal Mushroom plant 0.076 ns 0.858 ns 0.691 ns 0.002* 0.398 ns 0.000* 0.890 ns 0.000* 0.907 ns 0.004* 0.342 ns 0.030* 0.588 ns 0.462 ns 0.112 ns 0.003* หาได้ค่อนข้างง่ายสามารถเจริญเติบโตทดแทนกันได้
ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้ชนิดดังกล่าวค่อนข้างมาก
เป็นเพราะพืชดังกล่าวมีจ�านวนมากในป่าไม้ และเก็บ
3. จ�านวนสมาชิกในครัวเรือน มีความสัมพันธ์
กับการใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้อย่างมีนัยส�าคัญ
ทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ไม้ไผ่ หน่อไม้ ผลไม้ป่า
Wild fruit 0.421 ns 0.145 ns 0.001* 0.003* 0.012* 0.207 ns 0.782 ns 0.488 ns สมุนไพร ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่มีจ�านวน
สมาชิกในครัวเรือน จ�านวน 4 คน ถือว่าเป็นครอบครัว
ขนาดกลาง ส่งผลให้มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร
ป่าไม้ชนิดดังกล่าวค่อนข้างมาก
4. จ�านวนแรงงานในครัวเรือน มีความสัมพันธ์
Wild vegetable 0.298 ns 0.027* 0.091 ns 0.012* 0.066 ns 0.894 ns 0.705 ns 0.275 ns กับการใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้อย่างมีนัยส�าคัญทาง
สถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ไม้ไผ่ หน่อไม้ พืชผักป่า ผลไม้
Bamboo shoot 0.025* 0.015* 0.001* 0.000* 0.352 ns 0.167 ns 0.652 ns 0.365 ns Remarks: * Significant level at p = 0.05, ns not significant at p = 0.05 ป่า สมุนไพร และแมลงกินได้ ทั้งนี้เนื่องจากประชาชน
The results of hypothesis testing Bamboo 0.435 ns 0.000* 0.008* 0.000* 0.119 ns 0.616 ns 0.507 ns 0.058 ns ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้ชนิดดังกล่าวค่อนข้างมาก
ส่วนใหญ่มีจ�านวนแรงงานในครัวเรือน จ�านวน 4 คน
ถือว่ามีแรงงานในครัวเรือนพอสมควร ส่งผลให้มีการใช้
5. ขนาดที่ดินถือครองมีความสัมพันธ์กับการ
ใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้ของประชาชนอย่างมี
นัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ผลไม้ป่า และ
สมุนไพร ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่มีขนาด
กับการท�าการเกษตรพอสมควร ส่งผลให้มีการใช้
Table 2 Socio economic of the respondents Occupation Education Household member Household labor Size of land Household income knowledge on forest conservation Knowledge on forest law ที่ดินถือครอง ระหว่าง 11-15 ไร่ ถือว่ามีพื้นที่เหมาะสม
ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้ชนิดดังกล่าวค่อนข้าง
มาก