Page 101 -
P. 101

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                         วารสารวนศาสตร 33 (1) : 97-107 (2557)                     99
                                                        ์



                 อันจะน�าไปสู่การส่งเสริมการใช้ประโยชน์ในพื้นที่  เป็นสวนผลไม้ของชุมชน มีวิถีชีวิตและที่อยู่อาศัยแบบ
                 บางกะเจ้า ให้เป็นแหล่งนันทนาการ และแหล่งเรียนรู้  ดั้งเดิม ปัจจุบันครอบคลุมพื้นที่การปกครอง 6 ต�าบล
                 ตามเป้าหมายของการจัดการพื้นที่สีเขียวอย่างยั่งยืน   ในอ�าเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
                        งานวิจัยนี้เป็นลักษณะวิจัยเพื่อพัฒนา (Research
                 for Development) มีวัตถุประสงค์ในการวิจัย 3 ข้อ คือ   วิธีการศึกษา
                 1) เพื่อส�ารวจลักษณะทางกายภาพของเส้นทางจักรยาน      1) ข้อมูลทุติภูมิ
                 พื้นที่บางกะเจ้า อ�าเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ        ตรวจเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

                 2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักปั่นจักรยานเพื่อก�าหนด  กับการสื่อความหมายธรรมชาติ แนวคิดและหลักการ
                 จุดที่เหมาะสมในการสื่อความหมาย ก�าหนดประเด็น  จัดท�าเส้นทางสื่อความหมายธรรมชาติ  แนวคิดการ
                 เนื้อหาสาระ และรูปแบบของการสื่อความหมาย และ   พัฒนาเส้นทางจักรยาน และหลักการก�าหนดช่วงชั้น
                 3) เพื่อเสนอรูปแบบและโปรแกรมสื่อความหมายใน  โอกาสด้านนันทนาการ เพื่อน�ามาก�าหนดกรอบแนวคิด
                 เส้นทางจักรยานที่เหมาะสมกับพื้นที่ และความต้องการ  การวิจัย สร้างเครื่องมือในการส�ารวจข้อมูลกายภาพ

                 ของนักปั่นจักรยาน
                                                             ของเส้นทางจักรยาน และสร้างแบบสอบถามความคิด
                          อุปกรณ์และวิธีการ                  เห็นของนักปั่นจักรยาน เพื่อน�าไปพัฒนาโปรแกรมสื่อ
                                                             ความหมายส�าหรับเส้นทางจักรยาน
                 พื้นที่ศึกษา                                        2) ข้อมูลปฐมภูมิ

                        พื้นที่บางกะเจ้ามีลักษณะคล้ายกระเพาะหมู        2.1 ศึกษาข้อมูลกายภาพและการใช้ที่ดิน
                 ล้อมรอบด้วยแม่น�้าเจ้าพระยา เป็นที่ตั้งของพื้นที่สีเขียว  ของเส้นทางจักรยานที่มีการใช้ปั่นจักรยานในปัจจุบัน
                 เชิงนิเวศนครเขื่อนขันธ์ ได้รับคุ้มครองพิเศษตามมติ  โดยรวบรวมข้อมูลเชิงพื้นที่เกี่ยวกับประเภทของเส้น

                 คณะรัฐมนตรีตั้งแต่วันที่ 14 กันยายน 2520 (กรมป่าไม้,   ทาง ระยะทาง ความกว้าง  สิ่งอ�านวยความสะดวก สภาพ
                 2554) ให้อนุรักษ์พื้นที่สีเขียวบริเวณบางกะเจ้า อ�าเภอ  การใช้ที่ดินสองข้างทาง และประเมินช่วงชั้นโอกาส
                 พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 11,819   ทางด้านนันทนาการของเส้นทางจักรยาน
                 ไร่ ประกอบด้วยโครงการสวนกลางมหานครตามแนว              2.2 ศึกษาข้อมูลนักปั่นจักรยานชาวไทย
                 พระราชด�าริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ดูแล  ที่มาประกอบกิจกรรมปั่นจักรยาน พื้นที่บางกะเจ้า ของ
                 โดยศูนย์จัดการพื้นที่สีเขียวเชิงนิเวศนครเขื่อนขันธ์
                 กรมป่าไม้  เป็นพื้นที่ที่มีการซื้อที่ดินไว้จากประชาชน   ศูนย์จัดการพื้นที่สีเขียวเชิงนิเวศนครเขื่อนขันธ์ จังหวัด

                 เนื้อที่ประมาณ 1,276 ไร่โดยก่อสร้างสวนสาธารณะ  สมุทรปราการโดยหน่วยในการวิเคราะห์ (unit of
                 และสวนพฤกษชาติ เนื้อที่ 148ไร่ ซึ่งพระบาทสมเด็จ  analysis) คือ ปัจเจกบุคคล (individual) ใช้สถิตินักปั่น
                 พระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าพระราชทานชื่อ  จักรยาน ประจ�าปีงบประมาณ 2552 รวมทั้งสิ้น 15,989
                 สวนสาธารณะและสวนพฤกษศาสตร์ว่า “ศรีนครเขื่อน  คน (ข้อมูลจ�านวนนักท่องเที่ยวชาวไทยที่ประกอบ
                 ขันธ์” นอกจากสวนศรีนครเขื่อนขันธ์ แล้วยังมีสวนป่า  กิจกรรมการปั่นจักรยาน จากศูนย์จัดการพื้นที่สีเขียวเชิง

                 ชุมชนเมือง สวนป่าเกดน้อมเกล้า ต�าบลทรงคนอง สวนป่า  นิเวศนครเขื่อนขันธ์ จังหวัดสมุทรปราการ)  มีจ�านวน
                 ล�าพู ต�าบลบางกระสอบ ซึ่งชุมชนร่วมอนุรักษ์พื้นที่สีเขียว   นักปั่นจักรยานเฉลี่ยต่อเดือน 1,332 คน และใช้สูตร
                 จัดว่าเป็นพื้นที่สีเขียวที่ใหญ่ และมีสภาพความเป็น  Yamane (1973) ในการค�านวนหาขนาดของตัวอย่าง
                 ธรรมชาติมากที่สุด  พื้นที่ส่วนใหญ่ยังคงสภาพความ  ได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจ�านวน 308 ชุด
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106