Page 102 -
P. 102

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 100                       Thai J. For. 33 (1) : 97-107 (2014)



                        3) การออกแบบเครื่องมือ               พัฒนาเส้นทางสื่อความหมาย ซึ่งน�าเสนอโดย ดรรชนี

                          การออกแบบเครื่องมือในการรวบรวม     และคณะ (2547) และกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ
                 ข้อมูล สร้างขึ้นจากหลักการ แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง   พันธุ์พืช (2549) โดยน�าข้อมูลที่ได้จากการส�ารวจสภาพ
                 ที่มีลักษณะของข้อค�าถามปลายเปิด และข้อค�าถามปลาย  ทางกายภาพของเส้นทางจักรยานและข้อมูลความคิด
                 ปิด จ�านวน 3 ตอน คือ ตอนที่ 1  ข้อมูลภูมิหลังนักปั่น  เห็นของนักปั่นจักรยานที่มีต่อเส้นทางจักรยาน ความ

                 จักรยาน ตอนที่ 2  ข้อมูลประสบการณ์การประกอบ  ต้องการเกี่ยวกับรูปแบบและจุดที่เหมาะสมของการ
                 กิจกรรมการปั่นจักรยาน ตอนที่ 3  ข้อมูลความคิดเห็น  สื่อความหมายในเส้นทางมาใช้ในการออกแบบพัฒนา
                 ของนักปั่นจักรยานต่อเส้นทางจักรยานพื้นที่บางกะเจ้า   โปรแกรมสื่อความหมายส�าหรับนักปั่นจักรยาน โดยจัด

                 การให้บริการและการพัฒนาโปรแกรมสื่อความหมายใน  ท�าแผนที่เส้นทาง จุดสื่อความหมายในเส้นทางจักรยาน
                 เส้นทาง  ท�าการทดสอบความถูกต้องในเนื้อหา (content   น�าเสนอรูปแบบการสื่อความหมาย หัวข้อและสาระใน
                 validity) โดยน�าแบบสอบถามให้ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์  การสื่อความหมายในแต่ละจุดสื่อความหมาย จากนั้น
                 ตรวจสอบ จากนั้นน�าไปทดสอบ (pre-test)  กับนักปั่น  ให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความถูกต้องเหมาะสมของ
                 จักรยานพื้นที่บางกะเจ้า จ�านวน 30 ตัวอย่าง เพื่อน�าผล  เนื้อหาสาระของโปรแกรมสื่อความหมาย

                 ที่ได้วิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น (reliability) โดยวิธี
                 ของ Cronbach (พวงรัตน์, 2540) ซึ่งผลการวิเคราะห์        ผลและวิจารณ์
                 ความสอดคล้องภายในของความพึงพอใจต่อเส้นทาง   1.  ลักษณะกายภาพของเส้นทางจักรยานและ

                 จักรยานและการปั่นจักรยานในปัจจุบัน ค่าสัมประสิทธิ์  การใช้ประโยชน์ที่ดิน
                 แอลฟา เท่ากับ 0.88 และความต้องการในการพัฒนา         จากการศึกษาพบว่า เส้นทางจักรยานมีลักษณะ
                 ปรับปรุงเส้นทางจักรยานบางกะเจ้า และการบริการที่  เชื่อมต่อกันเป็นโครงข่ายครอบคลุมเขตการปกครอง
                 เกี่ยวข้องปัจจุบัน ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา เท่ากับ 0.94   6 ต�าบล เส้นทางประกอบด้วยถนนสายหลัก ถนนสายรอง
                 การเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม ผู้วิจัยท�าการเก็บ  ทางปูนยกระดับ ทางลาดยาง และทางลูกรังบดอัด

                 ข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างในช่วงเดือน  ระยะทางรวม 57 กิโลเมตร ความกว้างของผิวทาง
                 สิงหาคม พ.ศ. 2553 โดยการแจกแบบสอบถามให้แก่  ประมาณ 0.80-8.00 เมตร ผิวหน้าของเส้นทางมีทั้ง
                 นักปั่นจักรยานก่อนที่จะเริ่มการปั่นจักรยานและขอ  แบบแน่นเรียบและแน่นขรุขระ ท�าด้วยคอนกรีตหยาบ

                 รับคืนภายหลังจากการปั่นจักรยานเสร็จสิ้น  โดยใช้  แอสฟัลต์ และลูกรังบดอัด ความลาดชันอยู่ที่ระดับ 0-3
                 เทคนิคการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (accidental  sampling)    เปอร์เซ็นต์ ท�าให้จักรยานสามารถใช้ความเร็วในเส้น
                 การวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติพรรณนา (descriptive   ทางได้ประมาณ 11-24 กิโลเมตรต่อชั่วโมง  มีการใช้
                 statistics) ประกอบด้วยค่าความถี่ ค่าสูงสุด ค่าต�่าสุด   เส้นทางร่วมกับพาหนะสัญจรประเภทอื่น  เช่น รถยนต์
                 ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ในการอธิบายภูมิหลังของนักปั่น  รถจักรยานยนต์ และรถบรรทุกที่มีขนาดใหญ่ การใช้

                 จักรยานและความคิดเห็นที่มีต่อเส้นทางจักรยานและ  ประโยชน์ที่ดินในเส้นทางประกอบด้วยพื้นที่สวนผลไม้
                 รูปแบบของการสื่อความหมายที่ต้องการ          เกษตรแบบผสมผสาน สวนป่า  แหล่งน�้า ที่อยู่อาศัย
                        4) การพัฒนาโปรแกรมสื่อความหมาย       สถานที่ราชการ โรงงานอุตสาหกรรม  ตลาดน�้า  และ

                          การพัฒนาโปรแกรมสื่อความหมายส�าหรับ  วัด  สิ่งอ�านวยความสะดวกที่พบในเส้นทาง ได้แก่ ป้าย
                 เส้นทางจักรยานบางกะเจ้า ผู้วิจัยประยุกต์กระบวนการ  บอกทาง ห้องสุขา ที่จอดรถ ร้านอาหารและเครื่องดื่ม
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107