Page 97 -
P. 97
โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารวนศาสตร 33 (1) : 85-96 (2557) 95
์
6. รายได้รวมของครัวเรือนมีความสัมพันธ์ 1. ข้อมูลเศรษฐกิจสังคมของผู้ให้สัมภาษณ์
กับการใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้อย่างมีนัยส�าคัญทาง พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีลักษณะทางเศรษฐกิจสังคมที่
สถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ พืชผักสมุนไพรและแมลงกินได้ หลากหลาย อายุเฉลี่ย 40 ปี ร้อยละ 92.3 เป็นเพศชาย
ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่มีรายได้รวมของ กว่าครึ่งจบการศึกษาต�่ากว่าระดับชั้นมัธยมศึกษาตอน
ครัวเรือน ระหว่าง 30,000-135,000 บาทต่อปี ถือว่ามี ปลาย บางคนไม่ได้เรียนหนังสือ เกือบทั้งหมด (ร้อยละ
รายได้ค่อนข้างต�่า ส่งผลให้มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร 99.4) เคยเข้าอบรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
ป่าไม้ชนิดดังกล่าวค่อนข้างมาก และมีความรู้ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ค่อนข้างมาก
7. ความรู้ความเข้าใจในด้านการอนุรักษ์ (คะแนนเฉลี่ย 0.86) แต่ในด้านกฎหมายป่าไม้มีน้อย
ทรัพยากรป่าไม้มีความสัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์ (คะแนนเฉลี่ย 0.28) สมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 7 คน เป็น
ทรัพยากรป่าไม้อย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 วัยแรงงาน 4 คน มีที่ดินเฉลี่ย 16 ไร่ อาชีพหลักท�าเกษตร
ได้แก่ แมลงกินได้ ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ รายได้ครัวเรือนเฉลี่ย 34,254 บาทต่อปี รายจ่ายครัวเรือน
มีความรู้ความเข้าใจในด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ เฉลี่ย 22,836 บาทต่อปี
ค่อนข้างมาก และรู้ถึงประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้ และ 2. การใช้ประโยชน์และการจัดการทรัพยากร
ทรัพยากรป่าไม้ที่หายากส่งผลให้มีการใช้ประโยชน์จาก ป่าไม้ พบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดตอบว่าครัวเรือนของ
ทรัพยากรป่าไม้ชนิดดังกล่าวค่อนข้างมากและอาจเป็น ตนเก็บหาผลผลิตจากป่าเพื่อใช้ประโยชน์ในการด�ารง
เพราะแมลงกินได้ดังกล่าวมีจ�านวนมากในป่า ชีพ ได้แก่ ฟืน ไผ่ ดอกแขม และกล้วยไม้ป่า ส�าหรับ
8. ความรู้ความเข้าใจในด้านกฎหมายป่าไม้มี ใช้สอยทั่วไป หน่อไม้ พืชผักป่า ผลไม้ป่า สัตว์ป่า และ
ความสัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้อย่าง เห็ด ส�าหรับเป็นอาหาร และพืชสมุนไพรส�าหรับท�า
ยารักษาโรค โดยร้อยละ 80 ของผู้ให้สัมภาษณ์ระบุว่า
มีนัยส�าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ สมุนไพรและ ครัวเรือนของตนใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าดังกล่าว
แมลงกินได้ ทั้งนี้เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่มีความรู้ เกือบทุกประเภท ยกเว้น แมลงกินได้และพืชสมุนไพร
ความเข้าใจในด้านกฎหมายป่าไม้ค่อนข้างมาก และรู้ ที่มีสัดส่วนผู้ใช้เพียงสามในสี่และหนึ่งในสามของ
ถึงประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้ และทรัพยากรป่าไม้ ครัวเรือนตัวอย่างทั้งหมด ตามล�าดับ ปริมาณการใช้
ที่หายากส่งผลให้มีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้ ผลผลิตจากป่าแตกต่างกันออกไปในแต่ละครัวเรือน
ชนิดดังกล่าวค่อนข้างมาก อาจเป็นเพราะสมุนไพรและ ค่าเฉลี่ยของการใช้ไม้ฟืน 11 ลูกบาศก์เมตรต่อปี ไผ่ 78
แมลงกินได้ดังกล่าวมีจ�านวนมากในป่าไม้ และเก็บหา ล�าต่อปี ดอกแขม กล้วยไม้ป่า เห็ด หน่อไม้ พืชผักป่า
ได้ค่อนข้างง่าย สามารถเจริญเติบโตทดแทนกันได้ ผลไม้ป่า สัตว์ป่า แมลงกินได้ และพืชสมุนไพร เท่ากับ
100 56 47 74 51 39 89 22 และ 8 กิโลกรัมต่อปี
สรุป ตามล�าดับ โดยส่วนใหญ่เก็บเพื่อใช้อุปโภคบริโภคใน
จากการสุ่มตัวอย่างสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือน ครัวเรือนเป็นหลัก ยกเว้น ดอกแขม และกล้วยไม้ป่า ที่
ที่อาศัยอยู่ในเขตป่าอนุรักษ์แห่งชาติ อ�าเภอเวียงทอง เก็บเพื่อจ�าหน่าย
จังหวัดหัวพัน ประเทศ สปป.ลาว จ�านวน 168 ราย เพื่อ ในการใช้ประโยชน์ทรัพยากรป่าไม้ดังกล่าว
สอบถามการใช้ประโยชน์และการจัดการทรัพยากรป่าไม้ ส่วนใหญ่เป็นไปตามภูมิปัญญาประเพณีท้องถิ่นไม่มี
และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณการใช้ แบบแผนที่ชัดเจน ซึ่งชนิดผลผลิตที่ผู้ให้สัมภาษณ์ส่วน
ประโยชน์ผลผลิตจากป่ากับสภาวะทางเศรษฐกิจสังคม ใหญ่เห็นว่าตนใช้ประโยชน์โดยใช้ภูมิปัญญาประเพณี
ของครัวเรือน มีผลการศึกษาสรุปได้ ดังนี้ ท้องถิ่น ได้แก่ การเก็บหาพืชสมุนไพร เก็บไม้ฟืน พืช