Page 58 -
P. 58

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


              56                         Thai J. For. 31 (1) : 55-63 (2012)



                                                   บทคัดยอ


                    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปริมาณยานพาหนะและเสนทางในการเดินทางทองเที่ยว ปริมาณการ
              ปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดเฉลี่ยจากยานพาหนะที่ใชในการทองเที่ยวของนักทองเที่ยวไมพักคาง และแนวทาง
              ในการลดปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดจากยานพาหนะในการทองเที่ยวในอุทยานแหงชาติ
              ดอยอินทนนท โดยเก็บขอมูลโดยการสอบถามนักทองเที่ยวเกี่ยวกับยานพาหนะที่นักทองเที่ยวใชในการเดินทาง
              ทองเที่ยว ในชวงวันเสาร-อาทิตย และคํานวณหาปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดจากยานพาหนะ
              ที่ใชในการทองเที่ยว โดยการเปรียบเทียบกับตารางปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดตอปริมาณนํ้ามัน
              เชื้อเพลิง ผลการวิจัยพบวา มีจํานวนยานพาหนะทั้งหมด 6,689 คัน เปนรถตู รอยละ 33.95 รองลงมา คือ รถเกง
              รถกระบะ และรถอเนกประสงค คิดเปนรอยละ 30.27, 22.55 และ 13.23 ตามลําดับ เสนทางในการเดินทางทองเที่ยว
              สวนใหญ คือ นักทองเที่ยวขึ้นไปถึงยอดดอยอินททนท จํานวน 6,141 คัน คิดเปนรอยละ 91.81 รถตูมีการปลดปลอย
              กาซคารบอนไดออกไซดเฉลี่ยตอคันออกมามากที่สุด และรถเกงนอยที่สุด คิดเปนคาเฉลี่ย เทากับ 4,423.93 กิโลกรัม
              คารบอนไดออกไซดตอวันที่ปลดปลอยออกมาจากยานพาหนะทั้งหมด และหากนักทองเที่ยวทั้งหมดใชรถบริการ
              ขนสงนักทองเที่ยว คือ 1) รถกระบะรับจางดอยอินทนนท 2) รถกระบะรับจางดอยอินทนนทรอยละ 50 และรถตู
              รับจางดอยอินทนนทรอยละ 50 และ 3) รถตูรับจางดอยอินทนนท จะมีปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด
              ที่เกิดจากรถบริการขนสงนักทองเที่ยวเฉลี่ยตอวัน เทากับ 2,356.12 กิโลกรัมคารบอนไดออกไซด, 2,388.78 กิโลกรัม
              คารบอนไดออกไซด และ 2,421.44 กิโลกรัมคารบอนไดออกไซด ตามลําดับ จากการเปรียบเทียบ พบวา การที่นัก
              ทองเที่ยวไมพักคางทั้งหมดหันมาใชรถบริการขนสงนักทองเที่ยวในการเดินทางทองเที่ยวนั้น สงผลใหปริมาณการ
              ปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซดที่เกิดจากยานพาหนะที่ใชในการทองเที่ยวในอุทยานแหงชาติดอยอินทนนทนั้น
              ลดลง คิดเปนรอยละ 46.74, 46.00 และ 45.27 ตามลําดับ

              คําสําคัญ:  กาซคารบอนไดออกไซดจากยานพาหนะที่ใชในการทองเที่ยว  อุทยานแหงชาติดอยอินทนนท



                               คํานํา                      ทองเที่ยวโดยรถยนต สวนใหญแลวจะเปนรถยนตสวน
                                                           ตัวของนักทองเที่ยว โดยมีสวนในการปลดปลอยกาซ
                    อุทยานแหงชาติดอยอินทนนทเปนอุทยาน    เรือนกระจกมากเปนอับดับที่สองรองจากการบิน
              แหงชาติแหงหนึ่งในประเทศไทยที่นักทองเที่ยว  องคกรดานสิ่งแวดลอมตางๆ ประเมินวา ตัวเลข
              สามารถนํารถสวนตัวเปนพาหนะในการทองเที่ยว   นักทองเที่ยวในทศวรรษแรกของศตวรรษที่ 21 จะ
              ในพื้นที่อุทยานแหงชาติดอยอินทนนทได จึงทําให  เพิ่มเปน 1,000 ลานคน และ 1,600 ลานคน ในทศวรรษ
                                                           ถัดมา ระดับกาซคารบอนไดออกไซดที่ปลดปลอยสูชั้น
              เกิดปญหาดานการสัญจรในพื้นที่ สงผลกระทบตอสิ่ง  บรรยากาศ จะเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 75 (การทองเที่ยวแหง
              แวดลอม ทําใหเกิดมลพิษในอากาศที่เกิดจากยาน  ประเทศไทย, 2552) ดังนั้น ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะ
              พาหนะ ไดแก กาซคารบอนไดออกไซด ซึ่งเปน   ศึกษาปริมาณการปลดปลอยกาซคารบอนไดออกไซด
              หนึ่งในกาซเรือนกระจก  มีรายงานจาก UNWTO     เฉลี่ยจากยานพาหนะที่ใชในการทองเที่ยว ขอมูลที่
              (2008) กลาวไววา อุตสาหกรรมทองเที่ยวมีสวนในการ  ไดจะสามารถนําไปสูแนวทางในการลดปริมาณกาซ
              สรางกาซเรือนกระจกที่เปนสาเหตุของการเกิดการ  คารบอนไดออกไซดที่เกิดจากยานพาหนะของนัก
              เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ คิดเปนรอยละ 5 ของ  ทองเที่ยว เพื่อนําไปสูการจัดการระบบการสัญจรเพื่อ
              กาซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นทั้งหมด รูปแบบของการเดิน  ลดภาวะโลกรอนและเพื่อรองรับการทองเที่ยวอยาง
              ทางทองเที่ยวบนพื้นดินที่สําคัญที่สุดก็คือ การเดินทาง  ยั่งยืน
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63