Page 66 -
P. 66
โครงการรวบรวมและจัดทําเอกสารวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วารสารมนุษยศาสตร์ ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2557) 55
2.2 ความส าคัญของต านานรอยพระพุทธบาทสระบุรีในโคลง
ลิลิตดั้นต านานพระพุทธบาท
แม้ว่าผู้แต่งจะแสดงต านานรอยพระพุทธบาทสระบุรีที่อ้างอิงมา
จากคัมภีร์พุทธศาสนาไว้เกือบทั้งหมด แต่ผู้แต่งกลับกล่าวไว้ในตอนท้ายว่าต านาน
ดังกล่าวเป็นเพียง “เรื่องแต่ง” ของชาวลังกาเท่านั้น แสดงให้เห็นว่าผู้แต่งมิได้มี
จุดประสงค์เพื่อเชิดชูความศักดิ์สิทธิ์ของรอยพระพุทธบาทในฐานะ “บริโภคเจดีย์”
ดังเช่นที่ปรากฏในบุณโณวาทค าฉันท์
๏ บุณโณวาทสูตรนี้ ต านาน
้
ลิ้นพวกชาวลังกา กล่าวปนน
แต่งตามลักษณะโวหาร เห็นรบอบ
ความคิดคนคร้งงน้นน ชอบไฉน ฯ
(พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์, 2456: 15)
ความคิดข้างต้นแตกต่างจากน ้าเสียงของพระมหานาคที่สะท้อน
ผ่านการน าเสนอต านานรอยพระพุทธบาทสระบุรีในบุณโณวาทค าฉันท์อย่าง
ชัดเจน เนื่องจากต านานรอยพระพุทธบาทที่พระมหานาคยกมานั้น แม้จะตัดตอน
มาเพียงบางส่วน แต่ก็แสดงความเชื่อมั่นและศรัทธาอย่างเต็มเปี่ยมว่ารอยพระ
พุทธบาทสระบุรีเป็นรอยพระพุทธบาทศักดิ์สิทธิ์ที่เกิดจากการประทับของ
พระพุทธเจ้าโดยตรง
นอกจากนี้โคลงลิลิตดั้นต านานพระพุทธบาทยังกล่าวถึง
ความขัดแย้งระหว่างผู้ที่เชื่อและไม่เชื่อในต านานรอยพระพุทธบาท แสดงให้เห็นว่า
คนบางกลุ่มในสมัยรัตนโกสินทร์มิได้เชื่อถือศรัทธาในรอยพระพุทธบาทดังเช่นที่
เคยเป็นมาในสมัยกรุงศรีอยุธยา
๏ ใครเช่ออก็เช่ออถ้อย ทุกค า ขู่รา
ยนนนี่รอยบาทของ พระเจ้า
ลอยบุษบกเหยยยบส า หรบบโลก เฉลอมแฮ
ไปครบเจ็ดคร้งงเข้า คฤหาศน์สวรรค์ ฯ